ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1.1 เข้าใจวิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต
1.2 สามารถรู้และเข้าใจตนเอง
1.3 พัฒนาบุคลิกภาพและการปรับตัว
1.4 วิเคราะห์พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่
1.5 ออกแบบแนวคิดการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข
- เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในชีวิต กระบวนการพัฒนาปัญญาเพื่อแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวัน ความสามารถในการแสวงหาความสุขอย่างยั่งยืน การฝึกสมอง การจัดการอารมณ์ การเข้าใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง บุคลิกภาพและการปรับตัว การต่อต้านการทุจริต พฤติกรรมสังคมสมัยใหม่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับกรณีศึกษา
3.1 วันพุธ เวลา 08.00 -11.00 น. ห้อง 734
3.2 เวลาให้คำปรึกษา 13:00 – 16:00 น. ทุกวัน
 
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน
- กาหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนและการแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบปรนัย
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนาเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การแสดงความคิดเห็นต่อปัญหา และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา ศึกษาจากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้แล้ว โดยแบ่งนักศึกษาเป็นกลุ่ม ภายในกลุ่มจะต้องกำหนดแนวทางไปสู่การแก้ปัญหาหรือเสนอแนวทางปฏิบัติที่มีความน่าเชื่อถือและความเป็นไปได้
ประเมินจากการตอบปัญหาในชั้นเรียน การสอบย่อย (Quiz) การสอบกลางภาคและปลายภาค และการนำเสนอผลงานทั้งแบบรายบุคคลและกลุ่ม
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สอนโดยมีกิจกรรมเสริมในชั้นเรียน มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่ม และมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามภาระงานที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทางานได้กับผู้อื่นได้ โดยไม่ยึดติดกับเฉพาะเพื่อนที่ใกล้ชิด
การประเมินจากการแสดงออกอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน และประเมินผลงานจากรายงานของนักศึกษาทั้งแบบรายบุคคลและรายกลุ่ม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนาเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนาเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากรายงาน การนาเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงานของนักศึกษา การสอบย่อย (Quiz) ในชั้นเรียน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
ตำราศิลปะการใช้ชีวิต เรียบเรียงโดย รศ.ชูเกียรต์ เต็งไตรนุสรณ์ (2560)
1.1 การมีส่วนร่วมของนักศึกษา
1.2 กิจกรรมกลุ่ม
ตามการประเมินที่ได้จากภาควิชา/คณะ ตามการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอน
ปรับปรุงการสอนตามที่ภาควิชา/คณะ กำหนด โดยมีการนัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ใช้ทวนสอบนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา  เช่น คะแนนข้อสอบ งานที่มอบหมาย การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
ใช้ประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง