ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ

English for Career

    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในแต่ละอาชีพและสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทั้งตระหนักในความสำคัญของการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ และมีเจตคติที่ดีต่อการใช้ภาษาอังกฤษ
      เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการประยุกต์ใช้ภาษาอังกฤษสำหรับศึกษาด้วยตนเอง วิชาชีพ และเป็นพื้นฐานในการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 คัดเลือกเนื้อหาตามสาขาวิชาของนักศึกษา พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ ให้มีการฝึกฝนการใช้ภาษาโดยใช้สถานการณ์จำลอง ซึ่งนักศึกษาจะต้องพบระหว่างการปฎิบัติงาน
3.1  อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเอกสารประมวลการสอนรายวิชา
    3.2  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายและฝึกปฎิบัติเรื่องภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ
1.2.2 จับคู่สนทนา
1.2.3 นำเสนองานกลุ่ม
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลการนำเสนองานที่มอบหมาย
1.3.3    ประเมินจากแบบทดสอบ
1.3.4   การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.5   การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม
2.1.1   มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2   สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การทำงานเดี่ยว การนำเสนอรายงาน
2.2.2 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น
2.2.3 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
2.2.4 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏีรวมถึงการบูรณาการความรู้เข้ากับศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทำงานกลุ่มและการทำงานเดี่ยว
2.3.3    ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ
3.1.1   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.1.2    มีทักษระในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานกราณ์และวัฒนธรรมสากล
3.2.1   จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
3.2.2    จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ผึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
3.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3   การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในปริบทต่าง ๆ
3.3.4   การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
4.1.1   มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.2    จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
4.3.1   การทดสอบย่อย สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
4.3.2   ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2    สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขอย่างเหมาะส
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.3    สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสารค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหารายวิชาทีี่เกี่ยวข้อง
           
5.3.1   การทดสอบย่อย สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
5.3.2   ผลงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย
5.3.3   พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาชองนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ
6.1.1   มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
6.1.2    มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล
6.2.1   จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
6.2.2    จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ผึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
6.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
6.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
6.3.3   การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในปริบทต่าง ๆ
6.3.4   การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 13031004 ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Units 1-3 สอบกลางภาค , สอบปลายภาค 9, 18 30% , 30%
-มหาวืทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารการสอนชุดวิชาการอ่านภาษาอังกฤษ สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ,2534
 - Harrington, David and Chales Lebeau. Speaking of Speech Basic Presentation Skills for Beginners. 1996
 - Littlejohn, Andrew. Company to Company (a communicative approach to business correspondence in English) Spain: Cambridge University Press. 2000
-
เว็บไซด์ทีเกียวข้องกับหัวข้อในประมวลวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนารายบุคคลระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนผ่านระบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2   ผลการเรียนของนักศึกษา
3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการนำเสนอของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบก่อน-หลังเรียน และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1   ตั้งคณะกรรมการในสาขา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1   ติดตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2   ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวการสอนในศาสตร์ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ