สารทางการเกษตรเพื่อการผลิตพืช

Agricultural Substances for Plant Production

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้วนักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปของสารเคมีและวิธีการใช้
1.2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติของสารเคมี ที่จัดเป็นสารฮอร์โมนพืชทุกกลุ่ม ที่มีต่อสรีรวิทยาพืชสวน
1.3 ปฏิบัติและทดลองการใช้สารฮอร์โมนในรูปต่าง ๆ ของพืช
1.4 ปฏิบัติการเตรียมสารฮอร์โมน และฝึกการคำนวณสาร ก่อนที่จะได้นำไปใช้กับพืช
1.5 มีเจตคติที่ดีต่อวิชาสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน  พัฒนาบุคลากรด้านการเรียนการสอนและบริการวิชาการ ให้มีประสบการณ์จากการนำความรู้ไปปฏิบัติจริง  มีทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และให้หลักสูตรมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาวะกาลปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประเภท คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี กลไกการออกฤทธิ์ การเตรียม พฤติกรรมในต้นพืช พฤติกรรมในสภาพแวดล้อม และความเป็นพิษของสารทางการเกษตร ตลอดจนการประยุกต์ใช้สารกับพืชที่สำคัญทางเศรษฐกิจ
3.1 ทุกวัน เวลา 09.00 - 17.00 น.
      ห้องพักอาจารย์  หรือ โทรศัพท์
      081 287 3849
3.2  e-mail a_chantaraboon@hotmail.com 
       ทุกวัน ทุกเวลา
 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
    1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 1.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
 1.2.2 การสอนแบบ Brain Storming Group
   1.3.1 การสังเกต
   1.3.2 ข้อสอบอัตนัยและ/หรือข้อสอบปรนัย
 
  2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
  2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
  2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  2.2.1 การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
  2.3.1 การสังเกต
  2.3.2 ข้อสอบอัตนัย และ/หรือ ข้อสอบปรนัย
      3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
    3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
  3.2.1 กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
 3.3.1 การสังเกต
 3.3.2 ข้อสอบอัตนัยและ/หรือข้อสอบปรนัย
  4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
  4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
  4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
  4.2.1 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
  4.2.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
การประเมินโดยเพื่อน
   5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
  5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
  5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  5.2.1 มีการนำเสนอข้อมูลโดยใช้ Power point
  5.2.2 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
  5.2.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
  5.2.4 การนำเสนองานด้วยวิธีรายงานด้วยวาจา และ Power point
  5.3.1 งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
  5.3.2 การสังเกต
  5.3.3 การนำเสนองาน
  5.3.4 การประเมินโดยเพื่อน
   6.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   6.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
   6.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  6.2.1 มีการนำเสนอข้อมูลโดยใช้ Power point
  6.2.2 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
  6.2.3 การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
  6.2.4 การนำเสนองานด้วยวิธีรายงานด้วยวาจา และ Power point
  6.3.1 งานมอบหมายที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
  6.3.2 การสังเกต
  6.3.3 การนำเสนองาน
  6.3.4 การประเมินโดยเพื่อน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1
กฤษณา กฤษณพุกต์. 2537. การเกิดและการใช้สารแร่งราก, น 90-93. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. กฤษณา กฤษณพุกต์. 2537. การพักตัวของพืชและการทำการพักตัว, น 94-107. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คณาพล จุฑามณี. 2537. การคำนวณและผสมสารเคมี, น.74-79. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประสานการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. คณาพล จุฑามณี. 2537. การแสดงเพศดอกและการเปลี่ยนเพศดอก, น.112-117 ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ คณาพล จุฑามณี. 2537. เอทธิลีน, น.55-62. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จำนง อุทัยบุตร. มปป. เอกสารประกอบการสอนภาคบรรยาย วิชาสารสังเคราะห์ที่ใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.268 น. จำนง อุทัยบุตร. มปป. เอกสารประกอบการสอนภาคปฏิบัติ วิชาสารสังเคราะห์ที่ใช้ควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาชีววิทยา. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 33 น. ดนัย บุณยเกียรติ, 2540 สรีรวิทยาหลังการเก็บเกี่ยวพืชสวน. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 222 น. ธนัท ธัญญาภา. 2538. สารควบคมการเจริญเติบโตของพืชที่ใช้ในพืชสวน. น. 56 -65. ใน บัณฑูรย์ วาฤทธิ์ (ผู้รวบรวม). หลักพืชสวน. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. นพดล จรัสสัมฤทธิ์. 2537. ฮอร์โมนพืชและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช, วี.บี.บุ๊ค เซ็นเตอร์ (เค ยู.) ประตู 2 มก. ตึกสหกรณ์ร้านค้า. เขตจตุจักร, กรุงเทพ 128 น. พีรเดช ทองอำไพ. 2529. ฮอร์โมนพืชและสารสังเคราะห์ แนวทางการใช้ประโยชน์ในประเทศไทย. หจก.ไดนามิคการพิมพ์ ถนนสีลม เขตบางรัก, กรุงเทพ. 196 น.

     12. พีรเดช ทองอำไพ. 2537. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช. น.63-68. ใน คณะอนุกรรมการประสาน 
       งานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สาร 
       ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  13. พีรเดช ทองอำไพ. 2537. สารยับยั้งการเจริญเติบโต. น.69-73. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
  14. พีรเดช ทองอำไพ. 2537. ออกซิน. น.1-12. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและ สารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ.
   15. ภูวนาถ นนทรี. มปป. การใช้ฮอร์โมนกับไม้ผลบางชนิด. โครงการหนังสือเกษตรชุมชน. ตู้ ปณ. 1074 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ. 72 น. 
   16. รวี เสรฐภักดี. 2523. บทปฏิบัติการหลักการไม้ผล. ภาควิชาพืชสวน. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ. 98 น.
   17. รวี เสรฐภักดี. 2537. จิบเบอเรลลิน. น. 13-35. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
   18. รวี เสรฐภักดี. 2537. ไซโตไคนิน. น. 36-54. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัย ฮอร์โมนพืชและสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
    19. รัตนาภรณ์ พรหมศรัทธา. 2537. ผลของสารที่มีต่อสภาวะแวดล้อมและความเป็นพิษ. น.147 – 151. ใน คณะอนุกรรมการประสานงานวิจัยฮอร์โมนพืชแบะสารที่เกี่ยวข้อง (ผู้รวบรวม). เอกสารประกอบการฝึกอบรม เรื่อง การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชทางการเกษตร. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
    20. ศิริมา ธีระสกุลชล. 2531. คู่มือบทปฏิบัติการวิชาสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์บางพระ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, ชลบุรี. 50 น
    21. สายชล เกตุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวของดอกไม้. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. น. 125-128.
   22. สุรนันต์ สุภัทรพันธุ์. 2526. สรีรวิทยาของพืช. คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพ. 135 น.
   23. สัมพันธ์ คัมภิรานนท์. 2527. ฮอร์โมนพืช. ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. 136น.
   24. สัมฤทธิ์ เฟื่องจันทร์. 2527. หลักวิชาพืชสวน เล่ม 2. คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 403 น.
   25. Macmillan, J. 1980. Hormonal Regulation of Development I. New York: Springer – Verlag. 681 p.
 

Moore, T.C.. 1979. Biochemistry and Physiology of Plant Hormones. New York: Springer –Verlag. 274 p. Nickell, L.G. 1982. Plant Growth Regulators. New York: Springer – Verlag.173 p. Scott, T.K.. 1979. Plant Regulation and World Agriculture. New York: Plenum Press. 575 p. Weaver, R.J.. 1972. Plant Growth Substance in Agriculture. San Francisco: W.H. Freeman and Company. 594 p.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์ และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดทุกภาคการศึกษา สาขากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน และกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป