ภูมิสถาปัตยกรรมภายใน

Landscape Interior Architecture

ศึกษาและฝึกปฎิบัติ องค์ประกอบในการตกแต่ง บริเวณและสวนภายในอาคารและการวางผังออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม
1. พัฒนา/ปรับปรุงเนื้อหาและการแบ่งหน่วยให้เหมาะสม
2. เตรียมการเพื่อจัดทำสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาและฝึกปฎิบัติ องค์ประกอบในการตกแต่ง บริเวณและสวนภายในอาคารและการวางผังออกแบบภูมิสถาปัตยกรรม 
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
 

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
วัดผลจากการเข้าเรียน มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
การเช็คชื่อเข้าเรียนและรายงานผลรับผิดชอบต่องาน
มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
วัดทักษะการปฏิบัติงานและการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
ประเมินผลจากผลงานที่ศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 3
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 1
1 42024002 ภูมิสถาปัตยกรรมภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม - การเข้าชั้นเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานตามกำหนด - การมีวินัยในการร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดภาคการ ศึกษา 10%
2 ความรู้ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค - วิธีการปฏิบัติงานตามขั้นตอน - วิธีการสรุปและนำเสนอรายงาน 8 18 ตลอดภาคกลางศึกษา 20% 10%
3 ทักษะทางปัญญา - การนำเสนอแบบตามแนวคิดอย่างมีระบบ - การปฏิบัติงานถูกต้องตามขั้นตอน - รายงานสรุปผลการปฏิบัติงานพร้อมข้อเสนอแนะ ตลอดภาคกลางศึกษา 10%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - การอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน - พฤติกรรมในชั้นเรียนและการทำกิจกรรมกลุ่ม - การตรงต่อเวลาในการส่งงานและประสิทธิผลของงาน ตลอดภาคกลางศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัว เลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ - การมีส่วนร่วมและวิธีการอภิปราย การ จัดทำรายงานและรูปแบบการนำเสนอ ด้วยสื่อเทคโนโลยี ตลอดภาคกลางศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย - การออกแบบและจัดสถานที่ให้มีกระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน ผลงานสำเร็จมีคุณภาพ เสร็จตามกำหนด เวลา ตลอดภาคกลางศึกษา 40%
การจัดสวน : Garden design (ฉบับปรับปรุง) (ปกแข็ง)
การวางแผนจัดการพื้นที่ ปลูกต้นไม้ งานระบบ การดูแลรักษา และรูปแบบการจัดหลายสไตล์...
ผู้เขียน รศ. พรรณเพ็ญ ฉายปรีชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการ ประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ