ไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส

Microprocessor and Interface

1.1 เพื่อให้นักศึกษามความรรู้ความเข้าใจพื้นฐานของระบบไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส
1.2 เพื่อให้นักศึกษาสามารถนําความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบ การควบคุมด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์
1.3 เพื่อให้นักศึกษานําหลักการของระบบไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส ไปประยุกต์ในงานควบคุม
2.1 ในการปรับปรุงรายวิชาเพื่อต้องการให้นักศึกษามีความรู้ในวิวัฒนาการในเรื่องของระบบไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส
2.2 เพื่อให้นักศกษามความรู้และความตามทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ในเรื่องโมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟสและการเขียนโปรแกรมควบคุม

 
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์รีจีสเตอร์หน่วยควบคุม การจัดการระบบอินพุตและเอาต์พุตของไมโครโปรเซสเซอร์กลุ่มคําสั่งและการเขียนโปรแกรม ภาษาแอสแซมบลี้ของไมโครโปรเซสเซอร์การโปรแกรมระบบอินพุตและเอาต์พุต การจัดการระบบหน่วยความจําการขัดจังหวะการเชื่อมต่อระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์และชิพซัพพอร์ต
การติดต่อระบบอินพุตและเอาต์พุตผ่านกราฟฟกโปรแกรมมิ่ง
- อาจารย์ประจํารายวิชา ประกาศเวลาให้คําปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-อาจารย์จัดเวลาให้คําปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)

 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบมีวินัยมีจรรยาบรรณวิชาชีพเคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล
การไม่เปิดเผยข้อมูลการไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟตแวร์ และไม่ละเมิดลิขสิทธทางปัญญา มีความซื่อสตย์ ในการเขียนโปรแกรมอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรมจริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1  ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื้อสัตย์สุจริต
1.1.2  มีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3  มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลําดับความสําคัญ
1.1.4  เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็น มนุษย์
1.1.5  เคารพกฎระเบยบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.1.6  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้ไมโครโปรเซสเซอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่อ บุคคลองค์กรและสังคม
1.1.7  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมทเกี่ยวข้องกับการใช้
ฮาร์ดแวร์เช่นการใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในทางที่ผิดโดยมีวัตถุประสงค์ไม่สุจริตหรือ จากมิจฉาชีพการป้องกันตนเอง
1.2.2  อภิปรายกลุ่ม
1.2.3  กําหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องหรือกําหนดบทบาทสมมุต
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นํามาทํารายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.3 ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.4 ประเมินผลการนําเสนอรายงานที่มอบหมาย

 
มีความรู้เข้าใจหลักการทํางานของไมโครโปรเซสเซอร์และชิพซัพพอร์ตเข้าใจกลุ่มคําสั่ง
และการเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี้ของไมโครโปรเซสเซอร์รู้หลักการออกแบบวงจรเชื่อมต่อ ระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์และชิพซัพพอร์ต เข้าใจการติตต่อระหว่างไมโครโปรเซสเซอร์กับอุปกรณ์ภายนอก สามารถประยุกตใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานควบคุมอุปกรณ์ภายนอกได้ เข้าในหลักการติดต่อระบบอินพุตผ่านกราฟิกโปรแกรมมิ่งสามารถแก้ปัญหาที่เกิดจากการออกแบบทั้งวงจร และโปรแกรมและยังตระหนักถึงความสําคัญในการใช้ไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส
บรรยาย อภิปรายและทำาแบบฝึกหัด สาธิตการใช้อุปกรณ์และการเขียนโปรแกรม กำหนดทำงานกลุ่มการนำเสนอรายงานการวิเคราะกรณีศึกษาและมอบหมายให้ค้นหาบทความข้อมูลที่เกี่ยวข้องโดยนำมาสรุปและนำเสนอการศึกษาโดยใช้ปัญหา และทาการทดลองโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคญ
2.3.1 ทดสอบย่อยสอบกลางภาคสอบปลายภาคด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากผลการทดลองและปฏิบัติงาน
2.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการทํางาน
พัฒนาความสามารถในกระบวนการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหา และมีทักษะการปฏิบัติการ
 
3.2.1 การมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาตามใบงาน
3.2.2 สาธิตจากแบบจําลองในปัญหารูปแบบต่างๆ
3.2.3 ฝึกตอบปัญหาในชั้นเรียนการแสดงความคิดเห็นกระตุ้นโดยวิธีการซักถาม
3.2.4 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบแต่ละใบงานด้วยการลงมือทดลองเป็นรายบุคคล โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบวงจร

3.3.2 วัดผลจากการการทํางานปฏิบัติการทดลอง
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
4.1.3 พฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและมีความรับผดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กําหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มการทําใบงานในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคลเช่นการค้นคว้าความก้าวล้ำาของเทคโนโลยีการนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีระบบไมโครโปรเซสเซอร์และการอนเตอร์เฟสสมัยใหม่หรืออ่านบทความที่ เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนําเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กําหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นําเสนอ พฤติกรรมการทํางานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 ทักษะการคิดคํานวณเชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทกษะในการสื่อสารทั้งการพูดการฟังการแปลการเขียนโดยการทำรายงานและ นําเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารเช่นการส่งทาอีเมลการสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆเช่นWebBoardBlogการสื่อสารการทํางานในกลุ่มผ่านห้องสนทนาChatRoom
5.1.6 ทักษะในการนําเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม

 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนําตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นําเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงานและรูปแบบการนําเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
3.6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ  3.6.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
6.2.1 ส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักความสำคัญด้านเวลา การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา  6.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม และแนะนำให้นักศึกษาแบ่งหน้าที่กันทำงานในกลุ่มอย่างดี
6.3.1 ประเมินผลการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตรงเวลา  6.3.2 ประเมินผลการทำงานนักศึกษาทุกคนในกลุ่ม เพื่อให้ทราบว่าทุกคนมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม และเข้าใจเนื้อหาทีทำทุกคน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 3.1 3.2 3.3 3.4 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 5.1 5.2 5.3 5.4 6.1 6.2
1 32092205 ไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เนื้อหา สัปดาห์ที่ 1-7 เนื้อหา สัปดาห์ที่ 9-16 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4ม8 12,16 10%,25% 10%,25%
2 เนื้อหา สัปดาห์ที่1- 16 วิเคราะห์กรณีศกษาค้นคว้าการนําเสนอ รายงาน การทํางานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20%
3 เนื้อหา สัปดาห์ที่ 1-16 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
1.หนังสือตําราและเอกสารประกอบการสอนหลัก
1.บัณฑิตจามรภูม.ไมโครโปรเซสเซอร์.กรุงเทพฯ.ซีเอ็ตยูเคชั่น,2539.
2.ธีรวัฒนประกอบผล.ไมโครโปรเซสเซอร์.กรุงเทพฯ.ท็อป,2551.
3.ยืนภู่วรวรรณ.ไมโครโปรเซสเซอร์.กรุงเทพฯ.ซีเอ็ดยูเคชั่น,2539.
4.วิลาศิณีวิสิทธิ์กาศ.Microcontroller in action : ทดลองและใช้งานไมโครคอนโทรลเลอรATmega128 ด้วย โปรแกรมภาษาC กับซอฟต์แวรWiring ,กรุงเทพฯ:อินโนเวตีฟเอ็กเพอริเมนต, 2552.
5.เดชฤทธมณีธรรม,สําเริงเต็มราม.คัมภีร์ไมโครคอนโทรลเลอร์MCS51=MicrocontrollerMCS-51 กรุงเทพฯ:เคทีพคอมพแอนดคอนซัลท,2548.
6.RichardBarnett,Larryo’Cull,andSarahCox.EmbeddedCprogrammingandtheAtmelAVR. Australia,ThomsonDelmarLearning,2007.
 
 
Wikipedia
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานที่จัดทําโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนําแนวคิดและความเห็น
จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทําเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณีสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมการปรับปรุงการสอนโดยการจดกจกรรมในการระดม
สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธในรายหัวข้อตามทคาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผล การทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจําหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดย ตรวจสอบข้อสอบรายงานวิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม

 
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ