เครื่องทุ่นแรงฟาร์มและระบบการให้น้ำ

Farm Machinery and Irrigation System

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1.1 เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ การบำรุงรักษารถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตร และเครื่องทุ่นแรงฟารม์ 1.2 เพื่อศึกษาความสัมพันธร์ ะหวา่ ง ดิน น้ำและพืช 1.3 เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบการให้น้ำแกพ่พืชแบบต่างๆ 1.4 เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบระบบชลประทานในไร่นา
เพื่อฝึกทักษะด้านการวิเคราะห์และปรับปรุง รูปแบบการใช้งาน การบำรุงรักษารถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตรและเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม รวมถึงระบบการให้น้าแก่พืชปลูก โดยมีการนำความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้ การบำรุงรักษา รถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตรและเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม ความสัมพันธ์ระหว่าง ดิน น้ำ พืช ระบบการให้น้ำพืช แบบต่าง ๆ
นักศึกษาขอคำปรึกษาและคำแนะนำได้ทาง e-mail; pikul.rmutl@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ทำการสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดยให้ความสำคัญด้าน - วินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด - เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของ มหาวิทยาลัย - สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อ ตนเอง และสังคม - ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อ บังคับขององค์กรและสังคม
ใช้วิธีการ ดังนี้ - การขานชื่อ การให้คะแนนการ เข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรง เวลา - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จาก การขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้น เรียน - ประเมินปริมาณการทุจริตใน การสอบ - สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา ในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จาก การขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้น เรียน
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) - มอบหมายนักศึกษาไปค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงานตลอดจนนำเสนอรายงานในชั้นเรียน 2.2.2. การสอนแบบบรรยาย 2.2.3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 2.2.4. การสอนในห้องปฏิบัติการ
2.3.1. การนำเสนองาน - ประเมินผลจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย 2.3.2. ข้อสอบอัตนัย - ทดสอบโดยข้อเขียนในการสอบย่อย สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 2.3.3. สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในชั้นเรียนและการฝึกตีความ 2.3.4.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
3.1.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ ปัญหา ( Problem Based Instruction) 3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการ ดำเนินงานและการแก้ปัญหา 3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบ หมาย/การทดสอบย่อย
4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่นักศึกษาเป็นผู้แบ่งงาน 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 การสอนแบบ Brain Storming Group 4.2.2 การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) -มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้ละกำหนดความรับผิดชอบของแต่ละคนในการทำงานกลุ่ม อย่างชัดเจน
4.3.1.การสังเกต 4.3.2.ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียน โดยอาจารย์และเพื่อนนักศึกษา 4.3.3.การประเมินตนเอง
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ส่งเสริมให้มีการตัดสนใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข2. แนะนำและสาธิตการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 3. มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น 4. การนำเสนองานด้วยวาจาและ PowerPoint
1. สังเกตพฤติกรรมด้านความมีเหตุผลและการบันทึก เป็นระยะๆ 2.การนำเสนองาน มอบหมาย ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องของ - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ -การตอบคำถาม
-------------
-------------
--------------
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน พฤติกรรมระหว่างเรียนภาคปฏิบัติ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1 - 17 5 %
2 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) การทดสอบย่อย การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค การทำบทปฏิบัติการ ทุกสัปดาห์ 8 17 ทุกสัปดาห์ 10% 15% 20 % 25%
3 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 1. ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ของงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 2.คุณภาพงานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง 3.การเขียนบันทึก 4. การประเมินตนเอง 2 – 15 15%
4 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน พฤติกรรมระหว่างเรียนภาคปฏิบัติ 2 – 15 5 %
5 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) การนำเสนองาน/การรายงาน ประเมินความเหมาะสมและถูกต้องขององค์ประกอบในการนำเสนอ เช่น -การเตรียมความพร้อม - สื่อที่ใช้ - เนื้อหาที่นำเสนอ - ภาษาที่ใช้ -การตอบคำถาม 17 5%
จิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์. เครื่องจักรกลการเกษตร 1.พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:แผนกตำราคณะ วิศวกรรมศาสตร์.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2542. บพิตร ตั้งวงค์กิจและรัตนา ตั้งวงค์กิจ. อุปกรณ์และเครื่องจักกลการเกษตร.พิมพ์ครั้งที่1. กรุงเทพฯ:สานัก พิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2550. เสมอขวัญ ตันตนกุล.เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม 1. ภาคเครื่องทุ่นแรงสาหรับเตรียมดินและปลูกพืช.พิมพ์ครั้ง ที่ 1.กรุงเทพฯ:บริษัท ส.เอเชียเพรส(1898)จากัด, 2550. อภิชาต อนุกูลอำไพและคณะ.คู่มือการชลประทานระดับไร่นา . กรุงเทพฯ:สถาบันเทคโนโลยีแห่เอเชีย. 2537.
กรมวิชาการเกษตร.เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด. มปป. คณาจารย์.เกษตรชลประทาน. ปทุมธานี.ศูนย์ฝึก วิศวกรรมเกษตรบางพูน, 2518. ธีรยุทธ ชัยวงศ์. ปฏิบัติเครื่องยนต์เล็ก. เครื่องยนต์เล็ก. กรุงเทพฯ:นนทบุรี:เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์,2544. ประณต กุลประสูตร. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร 1 การใช้ การบรนการบารุงรักษาและการปรับ. พิมพ์ครั้ง ที่1. กรุงเทพฯ:บริษัทแอคทีฟ พริ้นท์ จากัด,2548. วราวุธ วุฒิพาณิชย์.การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ:สานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2545. วิบูลย์ บุญยธโลกุล. หลักการชลประทาน. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ:ห.จ.ก. โรงพิมพ์เอเซีย,2526
นัย บารุงเวช. เครื่องดานา.ม.ป.ท.,2546. บุญเจิด กาญจนา. การให้น้ำแบบฉีดฝอย. พิษณุโลก:สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพิษณุโลก, 2545. มนตรี ค้าชู.หลักการชลประทานแบบหยด การออกแบบและการแก้ปัญหา. กรุงเทพฯ:ภาควิชาวิศวกรรม ชลประทาน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มปป. อำนาจ สุวรรณฤทธิ์.ความสัมพันธ์ระหว่างดินกับพืช. กรุงเทพฯ:ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, 2525.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความ เห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมนผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมนการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมนการเรียนรู้
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของ รายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุง การสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผล สัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ