การแปรรูปอาหาร 2

Food Processing 2

อธิบายหลักการแปรรูปอาหารในระดับอุตสาหกรรมได้ อธิบายกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์อาหารเชิงอุตสาหกรรมได้ นำความรู้ ทักษะในการแปรรูปอาหารที่สำคัญไปประยุกต์ใช้ในการทำงานจริง และการใช้ชีวิตได้
2.1 เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
2.2 เพื่อปรับปรุงรายละเอียดของวิชาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับการแปรรูปอาหารในอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง อุตสาหกรรมน้ำตาล อุตสาหกรรมแป้ง อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมน้ำมันบริโภค อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็ง และอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีการแปรรูปใหม่ๆ ในปัจจุบัน หรือมีการทัศนะศึกษานอกสถานที่
Study of food processing industries such as canning industry, sugar industry, starch industry, beverage industry, edible oil industry, freezing industry, and new processing technology in food industry. Or perhaps field trips to food processing are included.
วันพุธ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักอาจารย์ E-mail: orathai_bun@hotmail.com หรือโทรศัพท์ 086-9134513 ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อ เช่น คอมพิวเตอร์ power point
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม(Participatory Learning)
3. เข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมทั้งใน/นอกมหาวิทยาลัยจัด
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
2. พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม การนำเสนอและอภิปราย โดยผู้สอนอาจซักถามประเด็นด้านจริยธรรม
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
˜2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย ใช้ Power point วีดีโอ
2. การสอนแบบปฏิบัติ ในแหล่งเรียนรู้เฉพาะด้าน
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลความก้าว หน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การทดสอบย่อย
2. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
4. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
˜3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ หรือการใช้เครื่องมือ การวิจัย
2. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
2. การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
˜4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)กิจกรรมการบูรณการร่วมระหว่างการเรียนการสอนกับงานบริการวิชาการสู่ชุมชน
2. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน การตอบข้อซักถามของอาจารย์และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
˜5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. ใช้ Power point
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฏีการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้อง เช่น การคำนวณเพื่อเตรียมสารเคมี หรือ การนำเสนอการทดลองด้วย Power point
˜ 6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การสอนแบบปฏิบัติ การในห้องทดลอง
2. ปฏิบัติภาคสนาม/สถานประกอบการ/ศูนย์เรียนรู้
ประเมินจากความสำเร็จของงานตามระยะเวลาที่กำหนด และการเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 4 1 1 6 1
1 BSCFT003 การแปรรูปอาหาร 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.3, 2.1, 2.3, 3.1, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-6 10% 5% 5%
2 1.1 - 1.4 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1-4.3, 5.1-5.3 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 1.3, 1.4, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 4.1-4.3, 5.1- 5.3 การทดสอบย่อย 5 ครั้ง การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค ทุกสัปดาห์ 40% 10% 10%
4 1.1, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 3.1, การนำเสนองาน/การรายงาน ทุกสัปดาห์ 10%
กล้าณรงค์ ศรีรอด และเกื้อกูล ปิยะจอมขวัญ. 2543. เทคโนโลยีของแป้ง. พิมพ์ครั้งที่ 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพ ฯ. 292 หน้า. ธีรวัลย์ ชาญฤทธิเสน. 2542. เรียนรู้การทำไวน์ผลไม้ด้วยตนเอง. ศิลปการพิมพ์ ลำปาง ไพบูลย์ ธรรมรัตน์วาสิก. 2539. กรรมวิธีแปรรูปอาหาร ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ , สงขลา. วิริยจารี. เอกสารประกอบการสอนวิชาเครื่องดื่ม . คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รุ่งนภา พงศ์สวัสดิ์มานิต. 2535. วิศวกรรมแปรรูปอาหาร : การถนอมอาหาร. ภาควิชา อุตสาหกรรมเกษตร คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพ ฯ. วราวุฒิ ครูส่ง. 2538. จุลชีววิทยาในขบวนการแปรรูปอาหาร โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์ กรุงเทพฯ วิไล รังสาดทอง. 2545. เทคโนโลยีการแปรรูปอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 2 . ภาควิชาเทคโนโลยี อุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. กรุงเทพฯ. 506 หน้า. ศิริลักษณ์ สินธวาลัย. 2522. ทฤษฎีอาหาร เล่ม 2 : หลักการถนอมอาหารและการควบคุมคุณภาพอาหาร. โรงพิมพ์ บำรุงนุกูลกิจ. กรุงเทพฯ. สามารถ พรหมศิริ. ความรู้เกี่ยวกับการทำไวน์ โครงการหนังสือเกษตรชุมชนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อรพิน ภูมิสมร. 2526. จุลินทรีย์ในเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์และอาหารหมักพื้นเมือง. ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ. อรพิน ภูมิภมร. 2526. ระบบชีวภาพที่สำคัญต่อเทคโนโลยีชีวภาพ เล่มที่ 2: จุลินทรีย์ใน เครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์และอาหารหมักพื้นเมือง ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Gavin,A. and L.M. Wedding, 1995. Canned Foods: Principles of Thermal Process control, Acidification and container Closure Evaluation, 6th Ed. The Food Processor. Pederson, C.S. 1979. Microbiology of food fermentation, 2nd Ed. AVI Publishing Co., Westport, Connecticut. Persson, P.O. and G. Londahl. 1993. Freezing Technology: In Frozen Food Technology. Mallet, C.P. (Editor) Blackie Academic & Professional, London. Petter, N.N. and J.H. Hotchkiss. 1995. Food Science, 5th Ed. Chapman & Hall., New York.
1. G.D. Christain, Analitical Chemistry, Wiley & Sons, Inc. New York, 1986.
2. D.A. Skoog, D. M. West, and F.J. Holler, “Analytical Chemistry : An Introduction” 6th ed., Saunder College Publishing, USA, 1994.
3. G. D. Christian, “Analytical Chemistry” 4 th. Ed., John-Wiley & Son, USA, 1986.
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ทวนสอบคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย หรือการทำวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ทวนสอบคะแนนข้อสอบหรืองานที่มอบหมาย
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ