ปฏิบัติงานปรับแต่งเครื่องยนต์

Engine Tune-up Practice

1. มีทักษะในการใช้เครื่องตรวจสภาพเครื่องยนต์
2. มีทักษะในการปรับแต่งเครื่องยนต์
3. มีทักษะในการตรวจสภาพเครื่องยนต์
4. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจอุปกรณ์ไฟฟ้า
5. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์ไอเสียอเครื่องยนต์
6. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์เครื่องยนต์ด้วยออสซิลโลสโคป
7. มีทักษะในการใช้เครื่องมือตรวจวิเคราะห์เครื่องยนต์ด้วยเครื่องวิเคราะห์ตามมาตรฐานสากล
9. ตระหนักถึงความสำคัญของการศึกษาวิชาการปรับแต่งเครื่องยนต์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เครื่องวัดกำลังการรั่วของกระบอกสูบ องศาจุดระเบิด วิเคราะห์ อุปกรณ์ จุดระเบิด วิเคราะห์ข้อขัดข้องเครื่องยนต์ วิเคราะห์ไอเสีย เครื่องมือวิเคราะห์ระบบจุดระเบิดด้วยคอสซิลโลสโคป
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครืองมือวัดปรับแต่งเครื่องยนต์แก๊สโซลีน เครื่องวัดกำลังการรั่วของกระบอกสูบ องศาการจุดระเบิด วิเคราะห์ อุปกรณ์จุดระเบิด วิเคราะห์ข้อขัดข้องเครื่องยนต์ วิเคราะห์ไอเสีย เครื่องมือวัดระบบจุดระเบิดด้วยออสซิลโลสโคป
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษาเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
1.2.2 สอบแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม
1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคมทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัยการตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7 ปลูกฝังการยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมายที่สะท้อนถึงความตั้งใจความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
     2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติปรับแต่งเครื่องยนต์
     2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของรถยนต์สมัยใหม่
     2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กูปิดตากับความรู้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ผู้สอนอธิบายหลักการทางทฤษฎีและสาธิตการปฏิบัติงาน
     2.2.2 นักศึกษาฝึกงานปฏิบัติงานในสถานศึกษา
     2.2.3 เขียนรายงานการปฏิบัติงาน
     2.2.4 สรุปผลการปฏิบัติการสอน
2.3.1 การทดสอบย่อย
2.3.2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.4 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
3.2.2 การมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าและรายงานทางเอกสาร
3.3.1 สอบปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่เน้นการวัดความรู้ และทักษะในการปฏิบัติงาน
   3.3.2 ประเมินผลจากการปฏิบัติงาน
   3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากรายงานการนำเสนอผลงาน
   3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการการใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 อธิบายยกตัวอย่างปัญหาที่เกิดขึ้นในการใช้รถบนท้องถนนและการแก้ปัญหาเบื้องต้น
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประมาณจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงานการจัด ทำรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสมถูกต้อง
5.3.2 ประมาณจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3 1 1 1 1 1 1
1 31045413 ปฏิบัติงานปรับแต่งเครื่องยนต์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,2.3, 3.1,3.2, 5.2,6.2 การสอบปฏิบัติความถูกต้อง ผบของงานแบบสังเกตฟฤติกรรม 9 17 30% 30%
2 1.1,1.3,2.1, 2.2,2.3,3.1, 3.2,4.4,5.2 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงานตามใอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,1.3,4.3, 4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ. ทฤษฎีและปฏิบัติไฟฟ้ารถยนต์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเก็ตยูเคชั่น จำกัด (เมษายน). 2543.
    2. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย. บริษัทจำกัด. คู่มือการซ่อมเครื่องยนต์ 4A-FE. ม.ป.ป.
    3. โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย. บริษัทจำกัด. หลักการเบื้องต้นของอิเล็กทรอนิกส์ เล่น 9 ระดับ3. ม.ป.ป.
    4. ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ.ทฤษฎีและปฏิบัติอิเล็กทอนิกส์ยานยนต์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเก็ด ยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). 2542
    5.  ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ และบุญธรรม ภัทราจารุกุล. ทฤษฎีและปฏิบัติอิเล็กทอนิกส์ยานยนต์. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเก็ด ยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). 2537.
1.คู่มือการใช้เครื่องวิเคราะห์แก๊สไอเสีย
2. คู่มือการใช้เครื่องไทน์มิ่งไลท์
3. คู่มือการใช้ออสซิลโลสโคป
4.คู่มือการใช้ดิจิตอลมัลติมิเตอร์
5. คู่มือการใช้เครื่องวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วย OBD
6. คู่มือวิเคราะห์ข้อขัดข้องด้วย OBD
7. AUTO DATA เครื่องยนต์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ