วัสดุวิศวกรรม
Engineering Materials
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
ผลิตวิศวกรปฏิบัติการระดับปริญญาตรีที่มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้วัสดุสำหรับงานทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมถูกต้องตามหลักวิชา เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานด้านวิศวกรรมอุตสาหการในสภาพปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้
ทางด้านคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม ทางด้านความรู้ สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาวัสดุวิศวกรรมกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร ทางด้านทักษะทางปัญญา มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี ทางด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
ผลิตวิศวกรปฏิบัติการระดับปริญญาตรีที่มีความรู้ความสามารถในการเลือกใช้วัสดุสำหรับงานทางวิศวกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมถูกต้องตามหลักวิชา เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในงานด้านวิศวกรรมอุตสาหการในสภาพปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้
ทางด้านคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม ทางด้านความรู้ สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาวัสดุวิศวกรรมกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร ทางด้านทักษะทางปัญญา มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี ทางด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้เนื้อหาทันสมัยสอดคล้องตามมาตรฐานข้อสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกรของสภาวิศวกร เพื่อผลิตวิศวกรปฏิบัติการระดับปริญญาตรีที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้ความคุ้นเคยกับสมบัติของวัสดุ เมื่อต้องการเลือกใช้หรือนำไปประยุกต์ เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงองค์ประกอบ โครงสร้าง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุกับการใช้งาน เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้ทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ ของสมบัติของวัสดุ เพื่อนำมาใช้งาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงกระบวนการผลิต, กระบวนการทดสอบให้วัสดุที่ผลิตออกมามีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ เป็นต้น
เพื่อให้เนื้อหาทันสมัยสอดคล้องตามมาตรฐานข้อสอบความรู้ระดับภาคีวิศวกรของสภาวิศวกร เพื่อผลิตวิศวกรปฏิบัติการระดับปริญญาตรีที่มีคุณสมบัติเหมาะสม เพื่อต้องการให้ผู้เรียนมีความรู้ความคุ้นเคยกับสมบัติของวัสดุ เมื่อต้องการเลือกใช้หรือนำไปประยุกต์ เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงองค์ประกอบ โครงสร้าง ซึ่งมีความสัมพันธ์กับสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุกับการใช้งาน เพื่อต้องการให้ผู้เรียนได้ทราบถึงข้อมูลต่าง ๆ ของสมบัติของวัสดุ เพื่อนำมาใช้งาน เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจถึงกระบวนการผลิต, กระบวนการทดสอบให้วัสดุที่ผลิตออกมามีความสมบูรณ์และมีคุณภาพ เป็นต้น
1. คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้ คอนกรีต เซรามิคและวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
ศึกษาเกี่ยวกับ โครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการประยุกต์ใช้วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ โพลิเมอร์ พลาสติก ยางมะตอย ไม้ คอนกรีต เซรามิคและวัสดุเชิงประกอบ แผนภาพสมดุลเฟสและการแปลความหมาย การทดสอบสมบัติต่างๆ ของวัสดุวิศวกรรมและการแปลความหมาย คุณสมบัติทางกลและการเสียหายของวัสดุ
เวลาให้คำปรึกษานักศึกษา หลักเลิกเรียนตั้งแต่เวลา 16.00-17.00 น
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
คุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต ความสำเร็จทางธุรกิจ ผู้พัฒนา หรือผู้ประยุกต์โปรแกรมจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่ เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ ได้แก่
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบสูงต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
คุณธรรม จริยธรรมเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนั้นคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต ความสำเร็จทางธุรกิจ ผู้พัฒนา หรือผู้ประยุกต์โปรแกรมจำเป็นต้องมีความรับผิดชอบต่อผลที่ เกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่น ๆ ได้แก่
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบสูงต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
1.1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.2 ให้ความสำคัญกำหนดให้นักศึกษาเข้าห้องเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มในการเรียนแต่ละครั้ง
1.2.5 ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มในการเรียนแต่ละครั้ง
1.3.2 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
1.3.5 ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและงานที่มอบหมาย
1.3.5 ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและงานที่มอบหมาย
นักศึกษาด้องพัฒนาความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคุณธรรม จริยธรรม และความรู้เกี่ยวกับวัสดุวิศวกรรมที่ศึกษานั้นเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคมดังนั้นมาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
2.1.1 พัฒนาความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.3 พัฒนาความสามารถการบูรณาการความรู้ในหลักวิชาวัสดุวิศวกรรมที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
2.1.4 พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวัสดุ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 พัฒนาความรู้และทักษะในวิชาวัสดุวิศวกรรม ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ
2.1.1 พัฒนาความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.3 พัฒนาความสามารถการบูรณาการความรู้ในหลักวิชาวัสดุวิศวกรรมที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้
2.1.4 พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านวัสดุ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
2.1.5 พัฒนาความรู้และทักษะในวิชาวัสดุวิศวกรรม ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
2.2 วิธีการสอน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย หลักการทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ รวมถึงหลักการออกแบบสร้างนวัตกรรม
2.2.3 มอบหมายงานศึกษาและค้นคว้าปัญหาทางวิศวกรรมวัสดุและโครงงานที่เกี่ยวข้องกับ การใช้งานวัสดุในทางวิศวกรรมเช่น การเลือกวัสดุสำหรับงานโครงสร้างสำหรับวิศวกรรมโยธา การปรับปรุงสมบัติวัสดุสำหรับการสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้านวิศวกรรมเครื่องกล เป็นต้น
2.2.4 ฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและเลือกใช้วัสดุด้านวิศวกรรมด้วยหลักการทางวัสดุและการออกแบบชิ้นส่วนและการวิเคราะห์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เช่น วิเคราะห์ไฟล์ไนอิลิเมนต์
2.2.5 มอบหมายรายงานกลุ่มและบุคคล และกรณีศึกษาการใช้งานวัสดุจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.2.1 บรรยาย อภิปราย หลักการทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ รวมถึงหลักการออกแบบสร้างนวัตกรรม
2.2.3 มอบหมายงานศึกษาและค้นคว้าปัญหาทางวิศวกรรมวัสดุและโครงงานที่เกี่ยวข้องกับ การใช้งานวัสดุในทางวิศวกรรมเช่น การเลือกวัสดุสำหรับงานโครงสร้างสำหรับวิศวกรรมโยธา การปรับปรุงสมบัติวัสดุสำหรับการสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้านวิศวกรรมเครื่องกล เป็นต้น
2.2.4 ฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและเลือกใช้วัสดุด้านวิศวกรรมด้วยหลักการทางวัสดุและการออกแบบชิ้นส่วนและการวิเคราะห์โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เช่น วิเคราะห์ไฟล์ไนอิลิเมนต์
2.2.5 มอบหมายรายงานกลุ่มและบุคคล และกรณีศึกษาการใช้งานวัสดุจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.3 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอ ผลการค้นคว้าข้อมูล ปัญหาทางวิศวกรรมหรือโจทย์จาก Problem – Based Learning
2.3.4 ประเมินผลงานที่มอบหมายและนำเสนอจากการวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษา
2.3.5 ประเมินจากการรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
2.3.3 ประเมินจากรายงานและการนำเสนอ ผลการค้นคว้าข้อมูล ปัญหาทางวิศวกรรมหรือโจทย์จาก Problem – Based Learning
2.3.4 ประเมินผลงานที่มอบหมายและนำเสนอจากการวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษา
2.3.5 ประเมินจากการรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
3.1.1 พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 พัฒนาความสามารถในการรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและ ความต้องการด้านวัสดุ
3.1.3 พัฒนาสามารถในการคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาการใช้วัสดุด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.5 พัฒนาความสามารถการสืบค้นข้อมูลด้านวัสดุและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.1.1 พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 พัฒนาความสามารถในการรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและ ความต้องการด้านวัสดุ
3.1.3 พัฒนาสามารถในการคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาการใช้วัสดุด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.5 พัฒนาความสามารถการสืบค้นข้อมูลด้านวัสดุและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2 วิธีการสอน
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้ฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้านวัสดุและการนำเสนอผลงาน
3.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มรวมถึงอภิปรายและวิเคราะห์กรณีศึกษา ด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัสดุ
3.2.3 ฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผลการศึกษา
3.2.5 มอบหมายงานสืบค้นด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.2.1 การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้ฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้านวัสดุและการนำเสนอผลงาน
3.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มรวมถึงอภิปรายและวิเคราะห์กรณีศึกษา ด้านวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัสดุ
3.2.3 ฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและนำเสนอผลการศึกษา
3.2.5 มอบหมายงานสืบค้นด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3.3 วิธีการประเมินผล
3.3.1 วัดผลจากการประเมินโครงงานและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินจากรายงานการอภิปรายผลและการนำเสนอ
3.3.3 ประเมินจากการนำเสนองานที่เมอบหมายจากกรณีศึกษา
3.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาและวิธีการรวมถึงปริมาณแหล่งสืบค้นข้อมูล
3.3.1 วัดผลจากการประเมินโครงงานและการนำเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินจากรายงานการอภิปรายผลและการนำเสนอ
3.3.3 ประเมินจากการนำเสนองานที่เมอบหมายจากกรณีศึกษา
3.3.5 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาและวิธีการรวมถึงปริมาณแหล่งสืบค้นข้อมูล
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.4 พัฒนาบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 พัฒนาจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.4 พัฒนาบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
4.1.5 พัฒนาจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2 วิธีการสอน
4.2.4 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีวัสดุสำหรับงานวิศวกรรมหรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาหรือการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัสดุทางวิศวกรรม
4.2.5 จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อรณรงค์การใช้วัสดุที่ความปลอดภัยต่อการทำงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยการนำเสนอการจัดบอร์ด
4.2.4 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีวัสดุสำหรับงานวิศวกรรมหรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาหรือการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการใช้วัสดุทางวิศวกรรม
4.2.5 จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อรณรงค์การใช้วัสดุที่ความปลอดภัยต่อการทำงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยการนำเสนอการจัดบอร์ด
4.3 วิธีการประเมินผล
4.3.4 ประเมินตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่ม ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนดและการสอบถามหน้าชั้นเรียนรายบุคคล
4.3.5 ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม
4.3.4 ประเมินตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่ม ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนดและการสอบถามหน้าชั้นเรียนรายบุคคล
4.3.5 ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.2 พัฒนาทักษะมีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.2 พัฒนาทักษะมีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
5.2 วิธีการสอน
5.2.2 มอบหมายงานด้านการคำนวณเชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับงานที่เกี่ยวข้องเช่นหลักกลศาสตร์ของวัสดุสำหรับการประยุกต์ใช้วัสดุในงานวิศวกรรม หลักการคำนวณหาคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เป็นต้น
5.2.4 มอบหมายรายงานและการนำเสนอจากหลักการของวัสดุ งานวิจัยหรือกรณีศึกษา
5.2.2 มอบหมายงานด้านการคำนวณเชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับงานที่เกี่ยวข้องเช่นหลักกลศาสตร์ของวัสดุสำหรับการประยุกต์ใช้วัสดุในงานวิศวกรรม หลักการคำนวณหาคุณสมบัติทางกลของวัสดุ เป็นต้น
5.2.4 มอบหมายรายงานและการนำเสนอจากหลักการของวัสดุ งานวิจัยหรือกรณีศึกษา
5.3 วิธีการประเมินผล
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการนำเสนอ ผลการทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.4 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
-
-
-
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.3, 2.5 2.1, 2.4 3.1, 3.2, 3.3, 3.5 4.4, 4.5 5.2, 5.41.2,1.5 | ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาควิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมายการเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | 4 9 12 17 ตลอดภาคการศึกษา | 10% 25% 10% 25% 20% 10% |
ผศ.ณรงค์ศักดิ์ ธรรมโชติ.(2552). วัสดุวิศวกรรม:(พิมพ์ครั้งที่2) กรุงเทพฯ:บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด
มานพ ตันตระบัณฑิตย์.วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย – ญี่ปุ่น).2545
มานพ ตันตระบัณฑิตย์.วัสดุวิศวกรรม. กรุงเทพ : สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี(ไทย – ญี่ปุ่น).2545
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น วัสดุเชิงประกอบ คำอธิบายศัพท์
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ