ปฏิบัติการทางวิศวกรรมโทรคมนาคม 3

Telecommunications Laboratory 3

เพื่อผลิตวิศวกรที่มี ความสามารถเป็นพิเศษ สามารถปฏิบัติงานในระบบไฟฟ้ากําลัง หรือ ระบบการวัดและควบคุม หรือเทคโนโลยีพลังงานไฟฟ้าในงานอุตสาหกรรม หรือระบบ โทรคมนาคม โดยมีพื้นฐานใน ด้านการออกแบบวิจัยและ พัฒนาทั้งสามารถเสนอข้อมูล ที่เกี่ยวกับการดําเนินการ ออกแบบติดตั้ง และทดสอบ
เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำองค์ความรู้พื้นฐาน  เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการคิดวิเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาตามโจทย์ปัญหาที่ได้รับ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปฏิบัติการทางวิศวกรรมโทรคมนาคม 3 ปฏิบัติการเกี่ยวกับการทดลองพื้นฐานของวิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม เช่น การทดลอง เกี่ยวกับการมอดูเลชั่นและดีมอดูเลชั่นแบบอนาล็อกและดิจิทัล การทดลองการ มัลติเพล็กซ์และดีมัลติเพล็กซ์แบบอนาล็อกและดิจิทัล การประมวลสัญญาณทางดิจิทัล และระบบเครือข่ายการสื่อสารแบบต่างๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการของนักษา 3 ชั่วโมงต่อสัปดา
(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมใน แต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา / ให้เข้าแถวก่อนหลังการจัดการเรียนการสอน
2. สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในรายวิชา  
(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงาน ตามกําหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
(2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษ
(3) ปริมาณการกระทําทุจริตในการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยประยุกต์องค์ความรู้ทฤษฎีเข้าสู่การปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
(3) ประเมินจากใบงานการประลองที่นักศึกษาจัดทํา
(4) ประเมินจากโครงการที่นําเสนอ
(5) ประเมินจากการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน
 
(3) สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง โดยใช้ STEM EDUCATION ในการจัดการเรียนรู้ 
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมิน จากการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์ ส่งเสริมการเรียนรู้จาก การแก้ปัญหา เป็นต้น
(4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งใน ฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความ รับผิดชอบ
(1) สามารถทํางานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
 
(1) ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นําและผู้ตามที่ดี
(2) ติดตามการทํางานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อม บันทึกพฤติกรรมเป็นรายบุคคล
(3) ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
(4) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการปฏิบัติงาน
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดง สถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้คิดวิเคราะห์ ในสถานการณ์จําลอง แก้ปัญหาที่เหมาะสมเรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศใน หลากหลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
(1) ประเมินจากความสามารถในการ เลือกใช้เครื่องมือทางทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาทาง วิศวกรรมศาสตร์
(2) ประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
(1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมี ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
(1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
(2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้ครูผู้สอน
(3) สนับสนุนการทําโครงงาน
 
(1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
(2) มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
(3) มีการประเมินผลการทํางานในภาคปฏิบัติ
(4) มีการประเมินโครงงานของนักศึกษา
(5) มีการประเมินนักศึกษาในวิชาสหกิจศึกษา/ฝึกงานทางวิศวกรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรมและจริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3) ด้านปัญญา 4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา ด้านความมีเหตุผล ด้านตรงต่อเวลา ความมีระเบียบวินัย (3) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งใน ฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมถึงสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความ รับผิดชอบ 2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดง สถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมี ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
1 ENGEE214 ปฏิบัติการทางวิศวกรรมโทรคมนาคม 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สามารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติการประลองและสร้างชิ้นงานได้ (1) ใบงานการประลองในแต่ละใบงาน (2) ผลงานในการทําโครงงาน 1-15 60 %
เอกสารประกอบการสอน
Louis E. Frenzel Jr.2008. Principles of Electronic Communication Systems. Fourth Edition. The McGraw-Hill Companies.1988.
กมลพรรณ จารุวาระกูล.2555.การสื่อสารข้อมูลเชิงดิจิตอล. สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์. คณะ วิศวกรรมศาสตร์. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- สังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
- ผลการสอบ
การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
-การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการประจำสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ตามที่กำหนดในรายวิชา เช่น ข้อสอบ รายงาน วิธีให้คะแนนสอบและคะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
- ผปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ