ภาษาอังกฤษเพื่อจุดมุ่งหมายทางวิชาการ

English for Academic Purposes

1) สามารถอ่านบทความทางวิชาการ
2) สามารถเขียนสรุปความบทความทางวิชาการ
3) สามารถเขียนย่อหน้าประเภทต่าง ๆได้
4) สามารถนำเสนองานทางวิชาการ
เพิ่มกระบวนการเรียนรู้โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้า และสืบค้นข้อมูลด้วยตัวเองจากอินเตอร์เน็ต โดยให้นักศึกษาสืบค้นบทความทางวิชาการและ วีดีโอ คลิป จากอินเตอร์เน็ท ซึ่งเป็นผลจากการทดลองใช้สื่อการสอนจากอินเตอร์เน็ตในการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆในสาขา และพบว่าเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ และส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าหาความรู้นอกห้องเรียน
ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อค้นคว้าทางวิชาการ
Study and practice English skills for academic purposes with all four skills of language covered the academic research work
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1) ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral)
1.1 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
1.2 มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
1.4 มีความซื่อสัตย์ กตัญญู เที่ยงธรรม
1.5 สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและส่วนรวม
- การสอดแทรกกรณีศึกษาระหว่างการเรียนการสอน
1. การสังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน
2. การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
3.การนำเสนองาน
2) ด้านความรู้ (Knowledge)
2.1 มีความรอบรู้อย่างกว้างขวางในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้
- การบรรยายและฝึกให้ทำแบบฝึกหัด หรือมอบหมายกิจกรรมนอกห้องเรียน
- การทำงานเป็นกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ และคลิปวีดีโอข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาเสนอ สรุป เขียนรายงาน และนำเสนอหน้าห้องเรียน
 
1. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของแบบฝึกหัด
2. ข้อสอบย่อย,
3. ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค
4. งานที่ได้รับมอบหมาย
3) ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills)
3.1เป็นผู้ใฝ่รู้ และมีความ สามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.2สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลได้ มีวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์
3.3 นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
- การทำกิจกรรมประเภทงานกลุ่มโดยกำหนดความรับผิดชอบ
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
4) ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal Skills and Responsibility)
4.1 มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2 ตระหนักถึงสิทธิของตนเองและผู้อื่น และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์
- การทำกิจกรรมประเภทงานกลุ่มโดยกำหนดความรับผิดชอบ
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
5) ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
5.1 สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟัง พูด อ่าน เขียน
5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือกข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
- การฝึกใช้ Power point เพื่อนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
- การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
- การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การนำเสนองานด้วยโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
6)ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
6.1 มีทักษะปฏิบัติ และสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานตามสภาพจริงได้
- การฝึกรายงาน
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา
1 13031013 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดมุ่งหมายทางวิชาการ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 2.1, 2.3, 3.1, สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 17 สอบปลายภาค สอบกลางภาค 20% สอบปลายภาค 30%
2 ข้อ 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 การนำเสนอผลงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ข้อ 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การสังเกต ตลอดภาคการศึกษา 10%
Keith S. Folse, et al. (2010). From Great Paragraphs to Great Essays. Heinle Cengage
Learning.
Spoken academic communication
Jay, Antony and Ros Jay (2000). Effective presentations. London: Prentice Hall.
Madden, Carolyn G. and Theresa N. Rohlck (1997). Discussion and interaction in the
academic community. Ann Arbor, MI: University of Michigan Press.
Written academic communication
Leki, Ilona (1998). Academic writing: exploring processes and strategies. Cambridge:
Cambridge University Press.
Reading and listening in academic contexts
Lebauer, Susan (1999). Learn to listen, listen to learn: academic listening and note-taking.
New York: Pearson ESL.
Waters, Mary and Alan Waters (1995). Study tasks in English. Cambridge: Cambridge
University Press.
Carter, Ronald, Rebecca Hughes and Michael McCarthy (2000). Exploring grammar in
context: upper-intermediate and advanced. Cambridge: Cambridge University
Press.
Collins COBUILD English dictionary for advanced learners (2001). Glasgow: Collins.
McCarthy, Michael and Felicity O'Dell (2001). English vocabulary in use: upper-intermediate. Cambridge: Cambridge University Press.
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
Oxford และ Cambridge Dictionary Online
การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน, แบบประเมินการเรียนการสอน, ข้อเสนอแนะผ่านแบบประเมินการสอน
ภาควิชา/คณะกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยให้นักศึกษาประเมินการสอนในแบบประเมินการเรียนการสอน
มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงกิจกรรมและเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนทุกภาคการศึกษา
ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ทุกคนในภาควิชาประชุมเพื่อที่จะประเมินความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
หลักสูตร/ภาควิชา/คณะจัดให้มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา เนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน โดยพิจารณาผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อประธานหลักสูตรหรือหัวหน้าภาค เสนอต่อกรรมการประจำคณะพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป