ทฤษฎีโครงสร้าง
Theory of Structures
1.1 ผู้เรียนสามารถอธิบายความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ วิศวกรรมศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมโยธา และการสรางนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
1.2 ผู้เรียนมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหารายของวิชาได้ เฉพาะดานทางวิศวกรรม
1.3 ผู้เรียนรู้จักบทบาท หนาที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุม สามารถปรับตัวและทำงานรวมกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนำและผูตามได อยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
1.4 ผู้เรียนสามารใชเครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม(โปรแกรมคำนวณ) เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวของได้
1.2 ผู้เรียนมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหารายของวิชาได้ เฉพาะดานทางวิศวกรรม
1.3 ผู้เรียนรู้จักบทบาท หนาที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุม สามารถปรับตัวและทำงานรวมกับผูอื่นทั้งในฐานะผูนำและผูตามได อยางมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวไดอยางเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
1.4 ผู้เรียนสามารใชเครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม(โปรแกรมคำนวณ) เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวของได้
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2552
ศึกษาการวิเคราะห์โครงสร้างแบบดิเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงปฏิกิริยา แรงเฉือน โมเมนต์ดัดในคานและโครงข้อแข็ง วิเคราะห์แรงภายในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟ อินฟูเอ็นไลน์ในคานและโครงข้อหมุน การขจัดเชิงมุมและการโก่งของโครงสร้างโดยวิธีพื้นที่โมเมนต์วิธีคานเสมือน วิธีงานเสมือน วิธีพลังงานความเครียด และวิธีแผนภูมิวิเลียต-มอร์ การวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดิเทอร์มิเนทโดยวิธีสมมติการเปลี่ยนรูปของโครงสร้าง
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบ เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ของห้องปฏิบัติการ องค์กรและสังคม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรม ต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพรวมถึง เข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.3 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรม ต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือตอบคำถามมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมให้นักศึกษา หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ ตลอดจนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมควบคุม
1.2.2 ให้ความสำคัญกับการตรงต่อเวลา โดยผู้สอนเป็นต้นแบบ
1.2.3 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1.2.2 ให้ความสำคัญกับการตรงต่อเวลา โดยผู้สอนเป็นต้นแบบ
1.2.3 อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่าง ให้ความสำคัญต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ การมีวินัยเรื่องเวลาการเปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของนักศึกษา
1.3.1 การเข้าชั้นเรียนตรงเวลา
1.3.2 การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1.3.3 ส่งงานตรงเวลา
1.3.4 สังเกตการณ์ทำกิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.2 การแต่งกายตามระเบียบมหาวิทยาลัย
1.3.3 ส่งงานตรงเวลา
1.3.4 สังเกตการณ์ทำกิจกรรมในชั้นเรียน
2.1.1 รู้ลักษณะการวิเคราะห์โครงสร้างแบบดีเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงปฏิกิริยา แรงเฉือน โมเมนต์ดัดในคานและโครงข้อแข็ง วิเคราะห์แรงในโครงข้อหมุนโดยวิธีคำนวณและวิธีกราฟ อินฟลูเอ็นไลน์ในคานและโครงข้อหมุน การขจัดเชิงมุมและการโก่งของโครงสร้าง โดยวิธีพื้นที่โมเมนต์ วิธีคานเสมือน วิธีงานเสมือน วิธีพลังงานความเครียด และวิธีแผนภูมิวิเลียต–มอร์ การวิเคราะห์โครงสร้างแบบอินดีเทอร์มิเนทโดยวิธีสมมติการเปลี่ยนรูปของโครงสร้าง
2.2.1 บรรยายหลักการและทฤษฎีตามมาตรฐานของงานตามคำอธิบายรายวิชา และตรงจุดประสงค์
2.2.2 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติตามหลักการทฤษฎีจากใบงานที่มอบให้
2.2.2 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติตามหลักการทฤษฎีจากใบงานที่มอบให้
2.3.1 การตอบข้อซักถาม และแสดงความคิดเห็น
2.3.2 ประเมินผลจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินผลจากการทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
3.1.1 พัฒนาความรู้ทางทฤษฎีเพื่อนำไปใช้ในการศึกษาวิชาที่ต่อเนื่องตามแผนการเรียน
3.2.2 พัฒนาความรู้ทางทฤษฎีเพื่อนำไปใช้ในงานก่อสร้างระดับมืออาชีพ
3.2.2 พัฒนาความรู้ทางทฤษฎีเพื่อนำไปใช้ในงานก่อสร้างระดับมืออาชีพ
3.2.1 บรรยายประกอบการซักถาม
3.2.2 จัดการเรียนการสอนให้ได้รับประสบการณ์จริง โดยการลงมือปฏิบัติตามใบงานที่ มอบหมายให้ เพื่อความเข้าใจและความชำนาญ
3.2.3 ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์ ตามคำอธิบายรายวิชา ซึ่งจะต้องมีความสัมพันธ์กัน นักศึกษามีความช่างสังเกต ประยุกต์ และนำมาพัฒนาต่อยอดได้
3.2.2 จัดการเรียนการสอนให้ได้รับประสบการณ์จริง โดยการลงมือปฏิบัติตามใบงานที่ มอบหมายให้ เพื่อความเข้าใจและความชำนาญ
3.2.3 ส่งเสริมความคิด วิเคราะห์ ตามคำอธิบายรายวิชา ซึ่งจะต้องมีความสัมพันธ์กัน นักศึกษามีความช่างสังเกต ประยุกต์ และนำมาพัฒนาต่อยอดได้
3.3.1 ประเมินผลงานจากที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีความรับผิดชอบในการทำงานที่ได้รับมอบหมายทั้งรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ในทุกสถานภาพ
4.1.3 วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
4.1.2 สามารถปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ในทุกสถานภาพ
4.1.3 วางตัวและร่วมแสดงความคิดเห็นในกลุ่มได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 แบ่งกลุ่มความรับผิดชอบ ห้องเรียน ให้อยู่ในสภาพที่ดีและเรียบร้อยหลังจากเลิกเรียนทุกครั้ง
4.2.2 ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลาที่กำหนดให้
4.2.2 ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลาที่กำหนดให้
4.3.1 ประเมินผลจากความสนใจและซักถามความรู้ที่ได้รับจากการทำกิจกรรม
4.3.2 ดูการฝึกปฏิบัติจากงานที่ทำ ต้องถูกต้องตามหลักมาตรฐาน
4.3.3 สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการทำหน้าที่ที่ได้รับหมายหมาย
4.3.2 ดูการฝึกปฏิบัติจากงานที่ทำ ต้องถูกต้องตามหลักมาตรฐาน
4.3.3 สังเกตการณ์มีส่วนร่วมในการทำหน้าที่ที่ได้รับหมายหมาย
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ
ในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยในการนำเสนอด้วยการเขียนและการพูดได้อย่างเหมาะสม
5.2.1 การสอนโดยมีการนำเสนอข้อมูลจากการค้นคว้าทางอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นตัวอย่างกระตุ้นให้นักศึกษาเห็นประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอและสืบค้นข้อมูล
5.2.2 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.3 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อ
5.2.2 การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูลและแหล่งข้อมูล
5.2.3 การมอบหมายงานที่ต้องมีการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.2.4 การมอบหมายงานที่ต้องมีการนำเสนอทั้งในรูปเอกสารและด้วยวาจาประกอบสื่อ
5.3.1 ประเมินจากวิธีการ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอ
5.3.2 การทดสอบ หรือการประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.3.2 การทดสอบ หรือการประเมินจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1 | การสังเกต | 1-17 | 5% |
2 | 1,2,3,4,5,6,7,8 | การเข้าห้องเรียน | 1-17 | 5% |
3 | 1,2,3,4,5,6,7,8 | แบบฝึกหัด และงานที่มอบหมาย | 1-17 | 15% |
4 | 1,2,3,4 | การสอบกลางภาค | 8 | 35% |
5 | 1,2,3,4,5,6,7,8 | การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ | 1-17 | 5% |
6 | 5,6,7,8 | การสอบปลายภาค | 17 | 35% |
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา เป็นลักษณะโปรแกรมออนไลน์
การประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยคณะทำการประเมิน
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวน และปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดทุกภาคการศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำรายงานต่อสาขาวิชา เพื่อปรับหากลยุทธวิธีการสอนที่เหมาะสมต่อไป
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาจากที่คณะประเมินการสอนของรายวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาเสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาเพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป