ปฏิบัติการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง

Power System Protection Laboratory

1.1 ตั้งค่าอุปกรณ์ป้องกันระบบไฟฟ้า  การทำงาน การเลือก ของฟิวส์  เซอร์กิตเบรกเกอร์ การต่อวงจร    การทดสอบ
1.2 ตั้งค่าอุปกรณ์ป้องกันหม้อแปลงกระแส หม้อแปลงแรงดัน  การติดตั้งล่อฟ้า การต่อลงดิน การต่อวงจร การทดสอบ
1.3 ตั้งค่ารีเลย์ชนิดต่างๆ การต่อวงจร การทดสอบ
1.4 ตั้งค่าอุปกรณ์ป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า  มอเตอร์ บัส หม้อแปลง และสายส่ง การต่อวงจร การทดสอบ
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมทั้งแนวคิดในการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังที่ปรับปรุงให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยีในระบบต่างๆ
ปฏิบัติการเกี่ยวกับพื้นฐานของการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง หม้อแปลงเครื่องมือวัดและทรานสดิวเซอร์  อุปกรณ์ป้องกันและระบบป้องกัน การป้องกันกระแสเกินและฟอลต์ลงดิน การป้องกันแบบ ผลต่าง การป้องกันสายส่งโดยใช้รีเลย์วัดระยะทาง การป้องกันสายส่งโดยใช้ไพล๊อตรีเลย์ การป้องกันมอเตอร์ การป้องกันหม้อแปลง การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันเขตบัส
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.4 ไม่เน้น
1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1  นักศึกษาต้องแต่งกายให้ถูกต้อง มีระเบียบของห้องเรียน การทำความสะอาด  การตรวจสอบเครื่องมือ
1.2.2 แจ้งให้นักศึกษาเข้าห้องเรียนตรงเวลา   แต่งกายถูกต้อง  ปฏิบัติตามระเบียบการใช้ห้องปฏิบัติการ
1.2.3 ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม
1.3.1  สังเกตุจากการแต่งกาย   การทำความสะอาด  การตรวจสอบเครื่องมือ
1.3.2  เช็คชื่อนักศึกษา  ตรวจสอบการแต่งกาย
1.3.3  สังเกตุจากการปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่ม แต่ละคนมีบทบาทอย่างไร
         2.2.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
         2.2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
         2.2.3 ไม่เน้น
         2.2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม
         2.2.5 ไม่เน้น
   2.2.1 นักศึกษาต้องทำรายงานเบื้องต้น เกี่ยวข้องกับใบทดลอง  คำนวณค่าที่ต้องใช้การทดสอบ
   2.2.2 นักศึกษาต้องต่อวงจรการทดสอง
   2.2.3 วิเคราะห์ผลการทดสอบ
   2.3.1 สัมภาษณ์จากการปฏิบัติงาน
   2.3.2 ตรวจผลการทดสอบ
   2.3.3 สอบ
         3.3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
         3.3.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
         3.3.3 ไม่เน้น
         3.3.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
         3.3.5 ไม่เน้น
   3.2.1 ให้นักศึกษาออกแบบการต่อวงจร
   3.2.2 ให้นักศึกษา วิเคราะห์ผลการทดสอบ
   3.2.3 ให้นักศึกษาสังเกตุผลการทดสอบ
   3.3.1 สังเกตุจากการทำงานของนักศึกษา
   3.3.2 สัมภาษณ์ในขณะการปฏิบัติงาน
   3.3.3 ทดสอบ
 
          4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่เหมาะสม
         4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
         4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
         4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
         4.1.5 ไม่เน้น
4.2.1 ให้นักศึกษาทำงานกลุ่ม  อ่านคู่มือต่างๆ ที่เป็นภาษาอังกฤษ
4.2.2 นักศึกษต้องวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอน
4.2.3 นักษาต้องแบ่งการทำงานในกลุ่ม
4.3.1 สังเกตุจากการปฏิบัติงาน
4.3.2 สัมภาษณ์ก่อนทำงาน และในขณะทำงาน
 
   5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี
   5.1.2 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
   5.1.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
    5.1.4 ไม่เน้น
    5.1.5 ไม่เน้น
ให้นักศึกษาออกแบบวงจรโดยใช้คอมพิวเตอร์
จากผลการทำงาน
  6.1.1 ไม่เน้น
  6.1.2 ไม่เน้น
---
----
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 32082415 ปฏิบัติการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 รายงานทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ตรวจจากรายงาน 4-16 20%
2 ผลการทดสอบ การวิเคราะห์ การตอบคำถาม จากใบงาน ตรวจสอบจากรายงาน 4-16 35%
4 ความรู้ จากการปฏิบัติงาน ทดสอบ 16 35%
5 คุญธรรมจริยธรรม การเช็คชื่อ 1-16 10%
1             การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง                                             ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช 
2             การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง                                             กิตติพงษ์  ตันมิตร 
3             รีเลย์และการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง 
4             รีเลย์ป้องกันกับการป้องกันระบบกำลัง                               สันติ  อัศวศรีพงศ์ธร
เอกสารประกอบการสอน  การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง
คู่มือ Relay  Circuit Breaker
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ