โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์

Computer Application for Livestock

1.1 เข้าใจระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
1.2 เข้าใจการใช้โปรแกรมจัดทำเอกสาร การนำเสนอข้อมูล และการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
1.3 เข้าใจการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์
1.4 มีทักษะในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์
1.5 เห็นประโยชน์ของการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตปศุสัตว์
2.1 มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการบูรณาการเทคโนโลยีทางสัตวศาสตร์ เพื่อปฏิบัติงานทางวิชาการด้านการปศุสัตว์ และผลิตภัณฑ์ที่ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ในฐานะผู้ประกอบการ นักวิชาการ หรือผู้จัดการฟาร์ม และสามารถคิดวิเคราะห์ได้อย่างมีเหตุผลและเป็นระบบ
2.3 มีคุณธรรม จริยธรรม สำนึกในจรรยาของวิชาชีพที่ดี มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และรับผิดชอบต่อการพัฒนาสังคมและเสริมสร้างเอกลักษณ์ไทย
2.4 มีทัศนคติและเจตคติที่ดีที่ดีต่อวิชาชีพทางการเกษตร
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป จัดทำเอกสาร ฐานข้อมูล นำเสนอข้อมูล และโปรแกรมสำเร็จรูปที่เกี่ยวข้องกับการปศุสัตว์
Study and practice of using computer and software packages, documenting, database, presentation and program packages involved livestock.
3.1 วันพุธ และวันศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาวิชาสัตวศาสตร์ โทร 089-7126620
3.2 e-mail: ttin15@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กำหนดหลักเกณฑ์การเข้าห้องเรียนตรงต่อเวลาและเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ ความรับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับมอบหมาย
2. บรรยายและยกตัวอย่างประกอบในเนื้อหา โดยสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม
3. ให้มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นในการสอบ
4. การอ้างอิงบทความวิชาการหรือแหล่งข้อมูลความรู้ต่างๆ มาใช้ต้องให้เกียรติแก่เจ้าของงานนั้น
1. ประเมินการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมายของนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา ส่งงานตามกำหนด และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่อาจารย์ผู้สอนกำหนด
2. ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรม ตรงต่อเวลา มีวินัยและความสามัคคีในการทำกิจกรรม
3. ประเมินผลรายงาน หรืองานที่นำเสนอมีการอ้างอิงแหล่งที่มาทางวิชาการถูกต้อง
4. ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. การบรรยาย เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2. มอบหมายให้ทำรายงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
3. ใช้คอมพิวเตอร์ในการคำนวณและวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิต
1. การทดสอบย่อยระหว่างเรียนในชั้นเรียน
2. การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3. ประเมินผลจากรายงาน และการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4. ประเมินผลการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. มอบหมายงานให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาของฟาร์มภายในมหาวิทยาลัยและฟาร์มที่นักศึกษาฝึกงานภายนอก โดยเปรียบเทียบกับความรู้ทางวิชาการจากเอกสารการปศุสัตว์ต่างๆ
2. การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน
3. มอบหมายงาน project โดยใช้หลักการวิจัยและประยุกต์การจัดการฟาร์มด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อใช้งานภายในฟาร์ม
4. ศึกษาดูงานฟาร์มภายนอกหรือสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
1. ประเมินจากรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ไขปัญหา
2. ทดสอบโดยข้อเขียนและสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน
3. ประเมินผลรายงาน การนำเสนอรายงานและการมีส่วนร่วมในข้อเสนอข้อคิดเห็นในชั้นเรียน
4. ประเมินจาก project ที่ได้รับมอบหมาย การประยุกต์ใช้ตามหลักการวิจัย
5. ประเมินกรณีศึกษา การศึกษาดูงาน เปรียบเทียบกับความรู้ทางวิชาการ
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กำหนดงานกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน
2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (brainstorming) เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
1. ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
2. ประเมินผลแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
3. สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
4. ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. มอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นองค์ความรู้จากเอกสาร หรือข้อมูลผ่านทางเครือข่ายสารสนเทศ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. มีการนำเสนองานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปที่เหมาะสมกับลักษณะงานต่อชั้นเรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้นักศึกษาใช้ภาษาที่ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 1. มอบหมายงานให้วิเคราะห์ปัญหาจากกรณีศึกษาของฟาร์มภายในมหาวิทยาลัยและฟาร์มที่นักศึกษาฝึกงานภายนอก โดยเปรียบเทียบกับความรู้ทางวิชาการจากเอกสารการปศุสัตว์ต่างๆ 2. การศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน 3. มอบหมายงาน project โดยใช้หลักการวิจัยและประยุกต์การจัดการฟาร์มด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อใช้งานภายในฟาร์ม 1. กำหนดงานกลุ่ม โดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่ม และผลัดกันเป็นผู้รายงาน 2. ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม 3. ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น (brainstorming) เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล 4. ศึกษาดูงานฟาร์มภายนอกหรือสถานประกอบการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 23027404 โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการปศุสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.2,2.3, 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 การเข้าชั้นเรียน/การตรงเวลา/ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนผลงาน /รายงาน/ การศึกษาอิสระ ทุกสัปดาห์ 10%
2 1.3, 1.4, 2.1, 2.3 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 นำเสนอรายงานเป็นกลุ่มโดยนักศึกษา พฤติกรรมต่างๆ เช่น การร่วมอภิปราย การตอบคำถาม เป็นต้น ทุกสัปดาห์ 20%
3 1.2, 1.3, 1.4, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 การส่งงาน การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ คุณธรรม และจริยธรรม ทุกสัปดาห์ 20%
4 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 6.1, 6.2, 6.3 การสอบกลางภาค 8 15 %
5 2.3 3.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3, 6.1, 6.2, 6.3 การนำเสนองาน/การรายงานที่ได้รับมอบหมาย 14 20 %
6 1.1, 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 6.1, 6.2, 6.3 การสอบปลายภาค 18 15 %
 
วีระ  อินทร์นารี. 2549.  เอกสารประกอบการสอนวิชา 03-222-408  คอมพิวเตอร์ในการผลิตสัตว์. บทปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในการผลิตสัตว์.  คณะวิชาสัตวศาสตร์.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง.  ลำปาง.  349 น.
 
 
สมเกียรติ   ฟุ้งเกียรติ. 2548.  เอกสารฝึกอบรมและสัมมนา เรื่องการใช้สูตรและฟังก์ชั่นของโปรแกรมแผ่นตารางทำการ. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ.
สมเกียรติ   ฟุ้งเกียรติ. 2548.  เอกสารฝึกอบรมและสัมมนา เรื่องหันมาใช้ Excel จัดการฐานข้อมูลแทน Access. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). กรุงเทพฯ.
ณรงค์  หุตานุวัตร  นันทิยา  หุตานุวัตร และประสาธน์  เกียรติไพบูลย์กิจ.  2548.  ฐานข้อมูล Excel ง่าย แต่เก่ง. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
เนรมิต    สุขมณี และอุทัย    คันโธ.  2545.  คู่มือโปรแกรมคาฟฟ์ เวอร์ชั่น 3.0  สำหรับการคำนวณสูตรอาหารสุกรและสัตว์ปีก. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ. ภาควิชาสัตวบาล.  มหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์.  กำแพงแสน.  นครปฐม.  25 น.
ไพบูลย์   ใจเด็ด. 2548. การใช้งานโปรแกรมจัดการฟาร์มโคนม Dairy king Version 1.0. ภาคเทคโนโลยีการผลิตสัตว์.  คณะเทคโนโลยีการเกษตร.  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.  กรุงเทพฯ. 17 น.
มนต์ชัย   ดวงจินดา และวิโรจน์   ภัทรจินดา. 2543. คู่มือโปรแกรมจัดการอาหารโคนมและคำนวณสูตรอาหารราคาต่ำสุด. ภาควิชาสัตวศาสตร์. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 27 น.
อุทัย    คันโธ.  2529.  อาหารและการผลิตอาหารเลี้ยงสุกรและสัตว์ปีก. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ. ภาควิชาสัตวบาล. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กำแพงแสน. นครปฐม. 297 น.
ตัวอย่างแบบบันทึกข้อมูลงานฟาร์มที่นักศึกษาได้รับจากการฝึกงานภายนอก และแบบบันทึกข้อมูลงานฟาร์มของมหาวิทยาลัย.
 ให้นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา โดยใช้แบบประเมินอาจารย์ผู้สอนรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง
ประเมินการจัดการเรียนการสอนจากการทดสอบย่อยและตอบคำถามของนักศึกษา ระหว่างการสอนแต่ละหน่วยการเรียน
 
3.1 ทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสอทธิภาพของรายวิชา
3.2 จัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคการศึกษา
3.3 ให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ระดับสูง เพื่อ
4.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
4.2 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
4.3 การแจ้งคะแนนสอบให้นักศึกษาทราบเป็นระยะ
4.4 การออกข้อสอบร่วม
4.5 ให้นักศึกษาแลกเปลี่ยนรายงานและการนำเสนอรายงาน
5.1 บันทึกหลังสอนรายคาบ
5.2 ประชุมร่วมผู้สอน
5.3 ผลการเรียนรู้เชิงพฤติกรรม
5.4 ข้อเสนอแนะของสถานประกอบการที่เชิญมาเป็นกรรมการคณะและวิทยากรบรรยายพิเศษ