เขียนแบบวิศวกรรม

Engineering Drawing

      2.1.1 รู้วิธีการเขียนตัวอักษร การมองภาพ  การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ  
      2.1.2 รู้วิธีการกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่
      2.1.3 รู้วิธีการสเก็ตภาพด้วยมือ การเขียนภาพแยกชื้นและภาพประกอบ
      2.1.4 รู้วิธีการการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
     เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจทางด้านการฝึกทักษะพื้นฐานทางวิศวกรรม ในการวิเคราะห์ข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล และการนำผลการวิเคราะห์ไประยุกต์ใช้ในทางวิศวกรรมศาสตร์
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนตัวอักษร การมองภาพ  การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ  การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่ การสเก็ตภาพด้วยมือ  การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
-พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและจัดลำดับความสำคัญของงานที่ทำ
- เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
- จัดกิจกรรมกลุ่มให้ทำงานร่วมกัน
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
-บรรยายและยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับจริยธรรม การมีวินัย ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อ
 ตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
-ให้ศึกษาค้นคว้าและทำรายงานในหัวข้อที่กำหนดให้
-พฤติกรรมการเข้าเรียน การร่วมกิจกรรมและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
-ประเมินผลการออกแบบงานที่มอบหมาย
       - การเขียนตัวอักษร การมองภาพ  การเขียนภาพออร์โธกราฟิกและการเขียนภาพสามมิติ  
       - การกำหนดขนาดและพิกัดความเผื่อ ภาพตัด ภาพช่วยและแผ่นคลี่ การสเก็ตภาพด้วยมือ 
       - การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบและออกแบบ
- กำหนดให้นักศึกษาทำงานตามที่มอบหมาย
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
 - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
 - สอบปฏิบัติรายบุคคล
       - พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไข
      - มอบหมายงานให้นักศึกษารายบุคคลทำและให้ส่งงาน
       - สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบภาคปฏิบัติ
       - ตรวจงานที่สั่งรายบุคคล
       - สอบปฏิบัติรายบุคคล
----
------
-------
  - พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
  - ทักษะในการใช้เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  - มอบหมายให้ฝึกปฏิบัติและศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ที่กำหนดให้
  - นำเสนอโดยใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน ถูกต้อง อ่านได้ง่าย
  - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
-
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประเมินผล แยกเป็น 3 ส่วน โดยแบ่งแยกคะแนน แต่ละส่วนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน 1.1 ผลงานที่มอบหมาย 70 คะแนน หรือร้อยละ 70 คะแนน 1.2 พิจารณาจิตพิสัย (กิจนิสัย ความตั้งใจ และการเข้าร่วมกิจกรรม) 10 คะแนน หรือร้อยละ 10 คะแนน 1.3 สอบกลางภาค 10 คะแนน หรือร้อยละ 10 1.4 สอบปลายภาค 10 คะแนน หรือร้อยละ 10
    -  จำรูญ  ตันติพิศาลกุล, เขียนแบบวิศวกรรม1 และเขียนแบบวิศวกรรม 2 ,พิมพ์ครั้งที่ 10 (ฉบับปรับปรุง), 2550 สำนักพิมพ์ หจก. สามลดา กรุงเทพฯ  
     -  มานพ  ตันตระบัณทิตย์, เขียนแบบวิศวกรรม (ระบบบISO และเมตริก), พิมพ์ครั้งที่ 7,  2548 สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทยญี่ปุ่น, กรุงเทพมหานคร
     -  อำนวย  อุดมศรี, 2538, เขียนแบบทั่วไป(เขียนแบบเทคนิค), พิมพ์ครั้งที่2 , บริษัทสกายบุ๊กส์  จำกัด
      -  โปรแกรมเขียนแบบ  Solid works  2007 
ไม่มี
     -  เว็บไซต์ google พิมพ์ค้นหา youtube + เขียนแบบวิศวกรรม
     - เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
     - เอกสาร e-learning
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
            7.1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
            7.1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
            7.2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
            7.2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
            7.2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
            7.3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
            7.3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
            7.4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
            7.4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
                        7.5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                        7.5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ