การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System Analysis

1. สามารถอธิบายการแทนรูปแบบของระบบไฟฟ้ากำลังเบื้องต้นได้
2. สามารถอธิบายสมการวงจรข่าย และการแก้ปัญหาระบบไฟฟ้ากำลังเบื้องต้นได้
3. สามารถอธิบายคุณลักษณะของโหลดโฟล์วเบื้องต้นได้
4. สามารถวิเคราะห์คุณลักษณะการเกิดความผิดพร่องแบบสมมาตร และแบบไม่สมมาตรเบื้องต้นได้
5. สามารถอธิบายการเกิดแรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลังเบื้องต้นได้
6. สามารถอธิบายการป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังเบื้องต้นได้
7. สนับสนุนให้นักศึกษาเกิดการศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบอิสระ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ  ในระบบเทคโนโลยีระบบไฟฟ้ากำลัง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียน และการทำงานในอนาคตที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรมที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับการแทนรูปแบบของระบบไฟฟ้ากำลัง สมการวงจรข่าย และการแก้ปัญหาระบบไฟฟ้ากำลัง การศึกษาโหลดโฟล์ว การวิเคราะห์ฟอล์ตแบบสมมาตร และแบบไม่สมมาตร แรงดันเกินในระบบไฟฟ้ากำลัง การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังเบื้องต้น
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1  บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา
1.2.2  กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานการศึกษาเชิงวิเคราะห์อย่างอิสระ เพื่อนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่ม
1.2.3  กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมติ
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และระหว่างการเรียน
1.3.2  การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้ และตรงต่อเวลา
1.3.3   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้อง และเหมาะสม
1.3.4   ประเมินผลความรู้ และความเข้าใจตามเนื้อหาที่ศึกษา
1.3.5   ประเมินผลการนำเสนอรายงาน การนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่มตามที่มอบหมาย
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  แบบทดสอบ การตอบคำถาม การแสดงความคิดเห็น และมอบหมายให้ศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาจากประสบการณ์ระหว่างการฝึกประสบการณ์เพื่อนำเสนอรายงาน การค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และการสรุปผลการศึกษาเพื่อนำไปใช้ในการเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับภายในชั้นเรียน
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการทางทฤษฏี และการใช้กระบวนการทางความคิดเชิงวิเคราะห์
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์ และนำเสนอผลงา
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1   การมอบหมายงานให้นักศึกษาทำรายงานการศึกษาที่ให้ใช้ทักษะการวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา อย่างอิสระ พร้อมการนำเสนอผลงาน
3.2.2   การนำเสนออภิปรายกลุ่ม พร้อมสร้างคำถาม และตอบคำถามในระหว่างการนำเสนอผลการศึกษาที่ได้
3.3.1  ความสมบูรณ์ของเนื้อหา และรูปเล่มรายงาน
3.3.2  การนำเสนอผลงาน ความรู้ และความเข้าใจ และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าจากคำถามที่ได้รับ
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน และเข้าร่วมกิจกรรม
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1   ให้อิสระในการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลประกอบการวิเคราะห์ผลการศึกษา
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม
6.2.1  มอบหมายงาน และให้คำปรึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วม
6.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
6.3.2   ประเมินจากการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และการเสนอความคิดเห็นในการแก้ไขปัญหา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 32022415 การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2 สอบรายหน่วย (หน่วยที่ 1, 2 และ 3) สอบรายหน่วย (หน่วยที่ 4, 5 และ 6) 8, 16 60%
2 1.1.3, 2.1.1, 2.1.2, 2.1.3, 3.1.1, 3.1.2, 4.1.2, 4.1.3, 5.1.1, 5.1.2, 5.1.3, 6.1.1, 6.1.2 - รายงานการศึกษา การวิเคราะห์ และสรุปผลกรณีศึกษาตามที่มอบหมาย - เล่มรายงาน - การตอบคำถาม การแสดงความเห็น 14, 15, 17 30%
3 1.1.3, 1.1.2, 1.1.3, 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน ความสนใจ มารยาทในชั้นเรียน ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และความมีน้ำใจ ในระหว่างการศึกษา รวมถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย หรือคณะฯจัดขึ้น ตลอดภาคการศึกษา 10%
พิชัย  อารีย์. “การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง”, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552, พิมพ์ที่ : บริษัท วี.พริ้นท์ (1991) จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2552.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ผ่านกิจกรรมในการนำแนวคิด และความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
     1. การนำเสนอผลงาน/การอภิปราย/การสัมมนาระหว่างนักศึกษาผู้นำเสนอ กลุ่มนักศึกษาผู้ฟัง และผู้สอน
     2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมความสนใจของนักศึกษา และแบบสอบถาม
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   เนื้อหา ความรู้และความเข้าใจ ระหว่างการนำเสนอผลการศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการสรุปข้อมูลจัดทำแนวทางการปรับปรุงใน มคอ.5
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ