การวัดและเครื่องมือวัด

Measurement and Instrumentation

เพื่อให้นักศึกษา ได้ศึกษาและปฏิบัติวัดปริมาณทางกล ด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ระยะกระจัด
ความเครียดความเร่งอุณหภูมิ การวัดค่า PH และอัตราการไหลเป็นต้น เทคนิคการบัน ทึกแจกแจงและปรับข้อมูลการรวบรวมและแจกแจงข้อมูลจากส่วนกลาง เพื่อผลทางการติดตาม และควบคุมกระบวนการผลิต
ไม่มี
ศึกษาและปฏิบัติวัดปริมาณทางกลด้วยอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น ระยะกระจัด ความเครียดความเร่งอุณหภูมิ และอัตราการไหล เป็นต้น เทคนิคการบันทึก แจกแจง และปรับข้อมูลการรวบรวมและแจกแจงข้อมูลจากส่วนกลาง เพื่อผลทางการติดตาม และควบคุมกระบวนการผลิต
 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) ในวันพุธ เวลา 15.00-17.00 น.
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ
มหาวิทยาลัยฯ
                  1.1.2 สามารถประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกาที่กำหนดหรือได้ตกลงกันไว้ และ
ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบ โดยเริ่มตั้งแต่การเขาชั้นเรียนให้ตรงเวลา การส่งงานตามกำหนดเวลา ตลอดจน
การแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยฯ
                   1.2.2 ปลูกฝังเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ
ตลอดจนผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อ บุคคลสังคม และสิ่งแวดล้อม หากกระทำการโดยขาด จรรยาบรรณทาง
วิชาชีพ
       1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามกำหนดระยะเวลา
       1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
       1.3.3 ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
       1.3.4 การกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน และวิศวกรรม
พื้นฐาน เพื่อประยุกค์ใช้กับการศึกษาของรายวิชาทางวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
       2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับ หลักการที่สำคัญเชิงทฤษฎีในเนื้อหาของรายวิชาสถิตศาสตร์
       2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกล กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่
เกี่ยวข้อง
       2.1.4 สามารถวิเคราะห์ปัญหา และใช้ความรู้และทักษะที่ศึกษาเกี่ยวกับวิชาสถิตศาสตร์ในการแก้ไข
ปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยาย โดยเขียนบนกระดานประกอบกับการอ้างอิงในหนังสือ ใช้สื่อการสอนทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ตลอดจนสื่อการสอนที่เป็นชิ้นงานจริง
 2.2.2 มอบหมายแบบฝึกหัดท้ายบทเรียน
2.3.1 งานที่มอบหมาย
2.3.2 สอบกลางภาค
2.3.3 สอบปลายภาค
3.1.1 สามารถ คิด วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา เพื่อใช้ในการ แก้ไขปัญหา ทาง ด้านวิศวกรรมเครื่องกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                   3.1.2 มีจินตนาการในการปรับใช้องค์วามรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือ
ต่อยอดองค์วามรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
                   3.1.3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อ หาความรู้เพิ่มเติมและให้ทัน ต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์วามรู้ใหม่ๆ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
                   3.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้า จัดทำรายงานทางเอกสารและนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
3.3.1 สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
3.3.2 ประเมินจากรายงานที่ได้รับมอบหมาย และการนำเสนอรายงานหน้าชั้น
เรียน
4.1.1 สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชา วิศวกรรมเครื่องกลในการ สื่อสารต่อสังคมได้ในประเด็นที่
เหมาะสม
                   4.1.2 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับ ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
                   4.1.3 รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม
4.2.1 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                   4.2.2 ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออก โดยการถามคา ถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
และการน าเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้า
                   4.2.3 ใช้วิธีการสอนแบบเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น เพื่อฝึกการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นด้วยเหตุผล
4.3.1 ติดตามการทำงานร่วมกับ สมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบัน ทึกพฤติกรรมเป็น
รายบุคคล
4.3.2 ประเมินจากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียน
4.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็น และการตอบคำถามระหว่างกิจกรรมการเรียนการสอน
      5.1.1 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
      5.1.2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลเช่น การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้สัญลักษณ์
      5.1.3 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชา
วิศวกรรมเครื่องกลได
5.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติมด้วยตนเองจากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
                   5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้าเรียบเรียงข้อมูลและนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.3.1การทดสอบย่อย สอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
                   5.3.2 ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่
เหมาะสม
                   5.3.3 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจำกัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ
การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 1 2 4 3 4 5 1 2 3 4 5
1 31074304 การวัดและเครื่องมือวัด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1-2.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 15% 15%
2 3.1-3.3, 4.1-4.3 และ 5.1-5.3 งานที่มอบหมาย 1 งานที่มอบหมาย 2 7 16 30% 30%
3 1.1-1.3 และ 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การวัดและเครื่องมือวัด สมนึก บุญพาไสว
สามารถดาวโหลดจากเว็บไซท์ การวัดและเครื่องมือวัด
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีสรุปและวางแผนการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบ
ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ