การตลาดสินค้าชุมชน
Local Product Marketing
เพื่อศึกษาถึงวิธีการบริหารและจัดการทางการตลาดเกี่ยวกับสินค้าและบริการของท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนาสินค้าที่เป็นภูมิปัญญาชุมชนให้เกิดมูลค่าเพิ่ม การใช้ส่วนประสมทางการตลาดมาประยุกต์เข้ากับสินค้าและบริการชุมชนตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของสินค้าชุมชน และยังรวมถึงวิธีการแสวงหาแหล่งเงินทุน
ปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย
ศึกษาถึงวิธีการบริหารและจัดการทางการตลาดเกี่ยวกับสินค้าและบริการของท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนาสินค้าที่เป็นภูมิปัญญาชุมชนให้เกิดมูลค่าเพิ่ม การใช้ส่วนประสมทางการตลาดมาประยุกต์เข้ากับสินค้าและบริการชุมชนตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของสินค้าชุมชน และยังรวมถึงวิธีการแสวงหาแหล่งเงินทุน
จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น. ทุกวันพุธ
- พัฒนาผู้เรียนให้ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม
- พัฒนาผู้เรียนให้มีความซื่อสัตย์และความมีระเบียบวินัย
- พัฒนาผู้เรียนให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปัน และสามารถทำงานเป็นทีมได้
- พัฒนาผู้เรียนให้มีความซื่อสัตย์และความมีระเบียบวินัย
- พัฒนาผู้เรียนให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปัน และสามารถทำงานเป็นทีมได้
- กำหนดหลักเกณฑ์ในการเข้าเรียนและการให้คะแนนอย่างชัดเจน
- ให้นักศึกษารายงานผลงานที่มอบหมายทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล
- ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ค้นคว้ามาวิเคราะห์พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
- ให้นักศึกษารายงานผลงานที่มอบหมายทั้งแบบกลุ่มและรายบุคคล
- ให้นักศึกษานำข้อมูลที่ค้นคว้ามาวิเคราะห์พร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1. คะแนนมาเรียน (พฤติกรรมการเข้าเรียน) จำนวนร้อยละ 10 ของคะแนนทั้งหมด
2. คะแนนงานรายบุคคล (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 10 ของคะแนนทั้งหมด
3. คะแนนงานกลุ่ม+นำเสนอ (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 30 ของคะแนนทั้งหมด
4. คะแนนสอบ จำนวนร้อยละ 50 ของคะแนนทั้งหมด
2. คะแนนงานรายบุคคล (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 10 ของคะแนนทั้งหมด
3. คะแนนงานกลุ่ม+นำเสนอ (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 30 ของคะแนนทั้งหมด
4. คะแนนสอบ จำนวนร้อยละ 50 ของคะแนนทั้งหมด
- ทราบถึงวิธีการบริหารและจัดการทางการตลาดเกี่ยวกับสินค้าและบริการของท้องถิ่น ตลอดจนการพัฒนาสินค้าที่เป็นภูมิปัญญาชุมชนให้เกิดมูลค่าเพิ่ม การใช้ส่วนประสมทางการตลาดมาประยุกต์เข้ากับสินค้าและบริการชุมชนตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ของสินค้าชุมชน และยังรวมถึงวิธีการแสวงหาแหล่งเงินทุน
บรรยายเนื้อหาทั้ง โดยใช้ power point และหนังสือ โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถามประเด็นสงสัย และมีกิจกรรมในชั้นเรียนโดยเลือกแบบฝึกหัดและหรือกรณีศึกษาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับเนื้อหาแต่ละบท
การประเมินผลใช้แบบทดสอบ 50 คะแนน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์
วิเคราะห์กรณีศึกษาด้วยกระบวนการคิดเชิงระบบตามทฤษฎีทางการตลาดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
สอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นการคิดวิเคราะห์
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่ต้องพัฒนา
- มอบหมายงานให้ค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นรายกลุ่ม
- จัดกิจกรรมกลุ่ม ติดตามการทำงานกลุ่มและงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ การพัฒนาทางการตลาดสินค้าชุมชน ประจำปี 2561
- จัดกิจกรรมกลุ่ม ติดตามการทำงานกลุ่มและงานที่ได้รับมอบหมาย โครงการ การพัฒนาทางการตลาดสินค้าชุมชน ประจำปี 2561
- ประเมินผลการเคารพสิทธิและให้เกียรติผู้อื่น และการกล้าแสดงความคิดเห็น จากคะแนนต่าง ๆ ดังนี้
1. คะแนนงานกลุ่ม+นำเสนอ (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 30 ของคะแนนทั้งหมด
1. คะแนนงานกลุ่ม+นำเสนอ (การทำงานที่ได้รับมอบหมายและส่งงานตรงเวลา) จำนวนร้อยละ 30 ของคะแนนทั้งหมด
- พัฒนาทักษะการพูดและการเขียน เพื่อถ่ายทอดความคิด
- พัฒนาทักษะการเป็นผู้พูด และผู้ฟังที่ดี
- พัฒนาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- พัฒนาทักษะการเป็นผู้พูด และผู้ฟังที่ดี
- พัฒนาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทางเว็บไซด์ วิเคราะห์งานโดยการนำเสนอ บรรยายพร้อมบอกแหล่งอ้างอิง
- นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายหลังจากฟังการนำเสนอผลการศึกษาของเพื่อน
- ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
- ประเมินจากรายงานการเขียน และการนำเสนอผลงานในรูปของเทคโนโลยี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | คุณธรรมจริยธรรม | ความรู้ | ทักษะทางปัญญา | ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 |
1 | 12021412 | การตลาดสินค้าชุมชน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทดสอบ | สัปดาห์ที่ 9,17 | 60% | |
2 | งานที่มอบหมาย | ตลอดภาคเรียน | 30% | |
3 | จิตพิสัย | ตลอดภาคเรียน | 10% |
- มนตรี พาณิชยานุวัฒน์ การประกอบธุรกิจชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
- สุนันท์ สุขสมบูรณ์ การประกอบธุรกิจชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
- สุนันท์ สุขสมบูรณ์ การประกอบธุรกิจชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ