สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร

Statistics and Experimental Designs for Agro-Industry

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์
1.2. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร
1.3. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
1.4. นักศึกษาสามารถวางแผนและวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติได้
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยเชิงทดลอง หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านสถิติและการวางแผนการทดลอง ไปใช้ในการแก้ปัญหา ทางด้านการทดลอง / วิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และเป็นพื้นฐาน การเรียนวิชาที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงตัวอย่างอ้างอิง กรณีศึกษา ที่สอดคล้องกับแนวโน้มการศึกษาวิจัย และงานทดลองที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
การวิจัยเชิงทดลอง หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์ การจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติ หัวข้อและกรณีที่ทันสมัยเกี่ยวกับสถิติและการวางแผนการทดลอง
จัดให้นักศึกได้เข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง (ตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางสอนและตารางปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา) โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อเริ่มต้นการเรียนการสอนในภาคการศึกษา โดยมีกำหนด ดังนี้
3.1 วัน และ เวลาตามที่กำหนด นอกเหนือจากตารางเรียน และให้คำปรึกษา (นอกเวลาได้) 
สถานที่ : ห้องพักชั้น 3 AI 18-304
3.2 โทร : 08-6912-3868 Face Book : Teeravat Teetee
E-mail : teeravat@rmutl.ac.th / teetep_1103@hotmail.co.th
ID Line : teetep2516 (ทุกวัน ขึ้นกับสถานการณ์และความจำเป็นของนักศึกษา)
3.3 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ และแจ้งนัดหมายล่วงหน้า)
™1.มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
™2.แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜3.มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
™4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
™5.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
™2.มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
™4.รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
™1.มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜2.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
™3.สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™4.มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
™4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
˜1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
™3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชา นั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
™4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
˜5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
™6. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
™7. สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
ปฏิบัติการในการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ในการบันทึก ข้อมูล การวิเคราะห์ ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ และการวางแผนการทดลอง การจัดทำรายงานผลและสรุปผลการวิเคราะห์ประกอบแบบฝึกปฏิบัติ รายหน่วยเรียน
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล