สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร

Statistics and Experimental Designs for Agro-Industry

1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์
1.2. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร
1.3. มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการของการเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม
1.4. นักศึกษาสามารถวางแผนและวิเคราะห์ผลการทดลอง โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติได้
การปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยเชิงทดลอง หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ด้านสถิติและการวางแผนการทดลอง ไปใช้ในการแก้ปัญหา ทางด้านการทดลอง / วิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร และเป็นพื้นฐาน การเรียนวิชาที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงตัวอย่างอ้างอิง กรณีศึกษา ที่สอดคล้องกับแนวโน้มการศึกษาวิจัย และงานทดลองที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีอุตสาหกรรมการผลิตอาหารที่มีความก้าวหน้าตามยุคสมัย
การวิจัยเชิงทดลอง หลักการของแผนการทดลอง สมมติฐานของการทดลอง แผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ แผนการทดลองแบบลาตินสแควร์ การจัดแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล แผนการทดลองประยุกต์ทางอุตสาหกรรมเกษตร การเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ย สหสัมพันธ์ สมการถดถอย การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม และการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิเคราะห์ผลทางสถิติ หัวข้อและกรณีที่ทันสมัยเกี่ยวกับสถิติและการวางแผนการทดลอง
จัดให้นักศึกได้เข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง (ตามรายละเอียดที่ปรากฏในตารางสอนและตารางปฏิบัติงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบวิชา) โดยจะแจ้งวันและเวลาให้นักศึกษาทราบล่วงหน้า เมื่อเริ่มต้นการเรียนการสอนในภาคการศึกษา โดยมีกำหนด ดังนี้
3.1 วันเวลา ที่ทำการสอน ตามกำหนดตารางเรียน
สถานที่ : ห้องพักชั้น 3 AI 18-304
3.2 โทร : 08-6912-3868 Face Book : Teeravat Teetee
E-mail : teeravat@rmutl.ac.th / teetep_1103@hotmail.co.th
ID Line : teetep2516 (ทุกวัน ขึ้นกับสถานการณ์และความจำเป็นของนักศึกษา)
3.3 อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ และแจ้งนัดหมายล่วงหน้า)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
™1.มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
™2.แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต
˜3.มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
™4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
™5.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์
5.การนำเสนองาน
6. การสอบย่อย (Quiz)
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
™2.มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™3.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ
™4.รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
™1.มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่น ๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ
˜2.สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์
™3.สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจ ในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
™4.มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง  2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม  3.การสังเกตและการสัมภาษณ์  5.การนำเสนองาน  6. การสอบย่อย (Quiz)  7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค  8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1.มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองเเละรับผิดชอบงานในกลุ่ม
™2. สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜3. วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
™4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง  2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม  3.การสังเกตและการสัมภาษณ์  5.การนำเสนองาน  6. การสอบย่อย (Quiz)  7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค  8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1. สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
˜2. สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
™3. สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชา นั้น ๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
™4. มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมายและสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
˜5. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง  2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม  3.การสังเกตและการสัมภาษณ์  5.การนำเสนองาน  6. การสอบย่อย (Quiz)  7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค  8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
˜1. มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการรวมถึงความสามารถในการทำงานเป็นกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
1. การสอนแบบบรรยาย ยกตัวอย่างประกอบ
2. การฝึกปฏิบัติการทำแบบฝึกหัด
3.การใช้กรณีศึกษา
4.การสืบค้นตัวอย่าง
5. การอภิปรายกลุ่ม
สื่อที่ใช้ คือ Power point และแบบฝึกปฏิบัติ (รายหน่วยเรียน)
1.งานฝึกปฏิบัติตามสภาพจริง 
2.งานมอบหมายรายบุคคล/กลุ่ม 
3.การสังเกตและการสัมภาษณ์ 
5.การนำเสนองาน 
6. การสอบย่อย (Quiz) 
7.ข้อสอบอัตนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค 
8. ข้อสอบปรนัยในการสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communicationand Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะปฏิบัติ (Psychomotor Skill)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1
1 BSCFT007 สถิติและการวางแผนการทดลองทางอุตสาหกรรมเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.5 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงาน งานมอบหมาย ตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 4.1-4.4 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน นอกชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5 %
กัลยา วานิชย์บัญชา. 2544. การวิเคราะห์หลายตัวแปรหลายตัวด้วย SPSS for Windows. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

จรัล จันทลักขณา. 2540. สถิติวิธีวิเคราะห์และวางแผนงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 7. สำนักพิมพ์ไทยวัฒนา พานิช จำกัด: กรุงเทพฯ.
ธีรวัฒน์ เทพใจกาศ. 2560. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา สถิติและการวางแผนการทดลองทาง
อุตสาหกรรมเกษตร. สาขาอุตสาหกรรมเกษตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ลำปาง.

ฤทธิเรืองเดช. 2561. การวิเคราะห์ข้อมูลงานวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยใช้โปรแกรม SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วิสตาร์ อินเตอร์ปริ้นท์, กรุงเทพฯ. 375 น.

สุรพล อุปดิสสกุล. 2536. สถิติการวางแผนการทดลอง เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 3.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: สหมิตรออฟเซท กรุงเทพฯ.
อนุวัตร แจ้งชัด. 2544. เอกสารประกอบการสอนวิชา 054-355 : สถิติและการวางแผนการทดลองในการพัฒนาผลิตภัณฑ์. ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
Angle D. And V. Daniel. Design and Analysis of Experiments. Springer, New York. 740 p.
Hu, Ruguo. 1999. Food Product Design : A computer-Aided Statistical Approach. Technomic Publishng Co., Inc. Pennsylvania, USA. 225 p.
Myers, R. M. and D. C. , Montgomery. Response Surface Methodology: Process and Product Optimization Using Designed Experiments. John Wiley & Sons, Inc. New York, USA. 700 p.
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์
เอกสารเกี่ยวกับสถิติวิจัยและการวางแผนการทดลองทางด้านอุตสาหกรรมเกษตร
เนื้อหาภาคทฤษฏี และแบบฝึกปฏิบัติการคำนวณ คู่มือการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ตัวอย่างในงานวางแผนการทดลอง ที่สามารถสืบค้นได้จาก อินเทอร์เนต
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดของมหาวิทยาลัย

 
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1. มีการดำเนินการจัดทำบันทึกการสอน พร้อมทั้งข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเรียนการสอน และการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา (ตามความเหมาะสม)
3.2. จากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน โดยสาขาวิชาจัดการสัมมนาการจัดการเรียนการสอนและหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
อาจารย์ผู้สอนจัดทำรายละเอียดการประเมินผลสัมฤทธิ์ทั้งงานรายกลุ่ม รายบุคคล และกรณีศึกษา ตามสถานการณ์ ทั้งการฝึกปฏิบัติและการทำงานมอบหมาย รวมทั้งความรู้ความเข้าใจ ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ และสาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินข้อสอบ / กิจกรรมที่ใช้ในการทดสอบ รวมทั้งความเหมาะสมของการให้คะแนนและระดับขั้นคะแนน โดยการสุ่มรายวิชา
 
อาจารย์ผู้สอนรวบรวมผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา คะแนนสอบ พฤติกรรมของนักศึกษา การประเมินตนเองของนักศึกษา รวมทั้งข้อคิดเห็นเพิ่มเติมจากอาจารย์ผู้ร่วมสอน เพื่อประกอบการวิเคราะห์ปัญหา ทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ นำเสนอข้อมูลตามลำดับ และหากมีการเปลี่ยนแปลงการดำเนินการในรายละเอียดที่จำเป็น จะมีการนำเสนอในที่ประชุมสาขาวิชาฯ เพื่อพิจารณาร่วมกันต่อไป