เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ สัตว์ปีก และประมง

Meat Poultry and Fishery Products Technology

1.1เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารระดับปริญญาตรีที่มี
ความรู้ความสามารถทั้งทฤษฎีและปฏิบัติในงานด้านอุตสาหกรรมอาหาร
1.2เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพมีคุณธรรมจริยธรรมและมีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม
1.3เพื่อพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนางานทางด้านอุตสาหกรรมอาหารโดยมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
1.4เพื่อประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านอุตสาหกรรมอาหารให้สอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถิ่นได้
: เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการอุตสาหกรรมเนื้อสัตว์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างองค์ประกอบของเนื้อสัตว์สัตว์ปีกและสัตว์น้ำ การฆ่า ชำแหละและการตัดแต่ง ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ การเสื่อมคุณภาพพิษวิทยาที่เกิดจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์คุณภาพและมาตรฐานของวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ การถนอมรักษาผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ในกระบวนการผลิต
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FT301โทร. 089-8502674)
3.2 E-mail; necapes@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอนจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ข้อกฎหมาย ตลอดถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.สถานการณ์จำลอง
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
5.การนำเสนองาน
.6.ข้อสอบอัตนัย
7. ข้อสอบปรนัย
8.แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
 
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-บรรยายเนื้อหาทฤษฎีตามแผนการสอน
-สอนและสอบภาคปฏิบัติ
-ศึกษาดูงาน
-มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยและความก้าวหน้าทางวิชาการใหม่ๆ
สอบภาคทฤษฏี
-สอบภาคปฏิบัติ
-ส่งรายงานและงานมอบหมาย
-การสังเกต
-ถาม-ตอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
สอนและให้นักศึกษาคิดพัฒนาผลิตภัณฑ์รายกลุ่มแล้วนำเสนอในชั้นเรียน
ตรวจผลงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
˜4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
-มอบหมายงานกลุ่ม
หรือฝึกให้บริการวิชาการแก่สังคม/กลุ่มแปรรูปอาหาร
-นำเสนอรายงาน สรุปงานเป็น
-การสังเกต
-ประเมินให้คะแนนตามปฏิบัติจริงหน้างาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
-ให้คะแนนงานตามเกณฑ์ประเมินที่สร้างขึ้นขึ้น
-ถาม/ตอบ
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
˜6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
ปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการเนิ้อสัตว์
-สังเกต
-สอบภาคปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทุกด้าน การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทดสอบย่อย 3 ครั้ง การสอบกลางภาค การนำเสนองาน/การรายงาน การสอบปลายภาค ตลอดภาคการศึกษา ทุกสัปดาห์ 4,6,10 9 14 17 5% 10% 5% 5% 10% 30% 10% 25 % 100 %
 
ชัยณรงค์ คันธพนิต. 2529. วิทยาศาสตร์เนื้อสัตว์. พิมพ์ครั้งที่ 1 . กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิชจำกัด.
276 น.
เยาวลักษณ์ สุรพันธพิศิษฐ์. 2536. เทคโนโลยีเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 .
ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตรคณะเทคโนโลยีเกษตรสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. 135 น.
นงนุช รักสกุลไทย. 2530. กรรมวิธีแปรรูปสัตว์น้ำ. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ไพศาล วุฒิจำนงค์. 2531. คู่มือปฏิบัติการ เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาอุตสาหกรรมเกษตร คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 36 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2538. จุลชีววิทยาของผลิตภัณฑ์ประมง. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 238 น.
มัทนา แสงจินดาวงษ์. 2545. ผลิตภัณฑ์ประมงไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะ
ประมง: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 323 น.
ลักขณา รุจนไกรกานต์. 2533. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเนื้อสัตว์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 407 น.
อุมาพร ศิริพินทุ์. 2546. เอกสารประกอบการสอน เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์. เชียงใหม่: ภาควิชา
เทคโนโลยีทางอาหาร. คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 181 น.
สุทธวัฒน์ เบญจกุล. 2548. เคมีและคุณภาพสัตว์น้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์: โอเดียนสโตร์.
336 น.
Warriss, P.D. 2000. Meat Science. New York: CABI Publishing. 310 p.
วารสารอาหาร, Journal of Food Science,Journal of Food Technology,Journal of Meat Science
เวปไซด์มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมอาหาร มาตรฐานผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารต่างประเทศและข้อมูลทางอินเตอร์เนตที่เกี่ยวข้องกับเนื้อสัตว์  สัตว์ปีกและประมง
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์ในชั้นเรียน

การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน

3.3การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเนื้อสัตว์จากวิทยากรภายนอกตามโอกาส

3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานที่ตามโอกาส
ระหว่างการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
อธิบายกระบวนการในการนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุง