โครงงานวิศวกรรมโลจิสติกส์

Logistics Engineering Project

สามารถแก้โจทย์ปัญหาทางด้านโลจิสติกส์ โดยการนำหลักการทางด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์และศาสตร์ด้านอื่นๆมาประกอบ เพื่อให้เป็นบัณฑิตที่มีความรู้และความสามารถในการเพิ่มศักยภาพและแก้ไขปัญหาทางโลจิสติกส์ของประเทศต่อไป
เพื่อให้นักศึกษานําความรู้ที่ได้จากการค้นคว้าและการรวบรวมข้อมูลเพื่อทําการวิจัย แก้ปัญหาและเพิ่ม ศักยภาพในระบบโลจิสติกส์ โดยมีการนําเสนอผลงานทางการวิจัยและจัดทําเป็นรูปเล่มรายงานที่ถูกต้องตาม หลักของการเขียนรายงาน
จัดทําโครงงานทางวิศวกรรมโลจิสติกส์ โดยดําเนินการต้อเนื่องจากหัวข้อในรายวิชาสัมมนาวิศวกรรม โลจิสติกส์หรือสหกิจศึกษา และมีการนําเสนอโครงการ โดยใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ และ หลักการเขียนรายงาน เช่นการใช้ภาษา การค้นหาและการใช้ข้อมูลทางวิศวกรรมศาสตร์ เป็นต้น
สามารถนัดหมายอาจารย์ประจำวิชาได้ตลอดช่วงการทำโครงงาน โดยผ่านช่องทางการติดต่อต่างๆ อาทิ สื่อออนไลน์หรือโทรศัพท์
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตาม คุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้  1.1.1  มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบสูงทั้งตอตนเอง วิชาชีพและสังคม  1.1.2  แสดงความซื้อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ  1.1.3  ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม
1.2.1 ใหความสําคัญในวินัย การตรงตอเวลา การสงงานภายในเวลาที่กําหนด  1.2.2  อธิบายระเบียบและวิธีการทํางานวิจัยที่ถูกตอง  1.2.3  เปนแบบอยางที่ดีแกนักศึกษารวมทั้งมีการจัดกิจกรรมสงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม
1.3.1  การขานชื่อ การใหคะแนนการเขาชั้นเรียนและการสงงานตรงเวลา  1.3.2  สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาและตรวจเอกสารอางอิงในเลมงานวิจัย  1.3.3  ประเมินผลจากวัตถุประสงค และประโยชนของงานวิจัย
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
2.1.1  เขาใจ และวิเคราะหหลักการและทฤษฎีพื้นฐานดานโลจิสติกส  2.1.2  สามารถนําไปประยุกตในกิจกรรมดานโลจิสติกสได  2.2.3   เขาใจ และวิเคราะหหลักการของศาสตรอื่นที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส เชน หลักเศรษฐศาสตร หลักกฎหมาย หลักการจัดการ เปนตน และสามารถนํามาประยุกตหรือเปนพื้นฐานของโลจิสติกส์
2.2.1  ฝกใหนักศึกษามีความรูความเขาใจในการรวบรวมเนื้อหาองคความรูทางดานโลจิสติกส  2.2.2   แนะนําวิธีการและใหความรูที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปแกไขปญหาและเพิ่มศักยภาพในงาน ดานโลจิสติกส  2.2.3   ฝกใหนักศึกษาสามารถนําเอาหลักการของศาสตรอื่นที่เกี่ยวของกับโลจิสติกส มาประยุกตใชกับงานดานโลจิสติกสได
2.3.1 ประเมินผลจากรายงานความกาวหนาของงานวิจัย  2.3.2  ประเมินผลจากผลงานวิจัยที่สามารถนําไปใชแกไขปญหาและเพิ่มศักยภาพในงานโลจิสติกส  2.3.3 ประเมินจากการตรวจเอกสารอางอิงในเลมงานวิจัย
3.1.1   มีความสามารถในการวิเคราะหสถานการณโดยใชหลักการที่ไดเรียนมาตลอดจนสามารถนํา ความรูไปประยุกตในสถานการณจริง  3.1.2   สามารถแกปญหาทางโลจิสติกสไดโดยนําหลักการตางๆมาอางอิงไดอยางเหมาะสม  3.1.3   มีความใฝหาความรู
3.2.1  ฝกกระบวนการคิดอยางสรางสรรค เพื่อนํามาแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในการทํางานวิจัย  3.2.2  นําเสนอตัวอยางงานวิจัยที่ตีพิมพทางดานโลจิสติกส ที่สามรถแกไขปญหาและเพิ่มศักยภาพ ทางดานโลจิสติกส  3.2.3  ใหมีการปฏิบัติจริงในสถานประกอบการ เพื่อเปนการเรียนวิธีการแกปญหาในสถานการณจริง
3.3.1  ประเมินจากแบบรายงานการวิเคราะหสถานการณ และการแกไขปญหาทางดานโลจิสติกส  3.3.2  ประเมินผลจากงานวิจัยที่ไดรับการตีพิมพเผยแพรทางดานโลจิสติกส  3.3.3  ประเมินผลจากผลงานที่ไดรับการแกไขปญหามาแลว
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1  สามารถทํางานกับผูอื่นไดเปนอยางดี  4.1.2  มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย  4.1.3   สามารถปรับตัวเขากับสถานการณและวัฒนธรรมองคกรที่ปฏิบัติงานไดเปนอยางดี  4.1.4  มีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูรวมงานในองคกรและกับบุคคลทั่วไป  4.1.5  มีภาวะผูนํา
4.2.1  มอบหมายงานใหทําเปนกลุมใหสามารถบรรลุจุดหมายที่ตั้งไว  4.2.2  ใหความสําคัญในการแบงหนาที่ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย  4.2.3  แนะนําวิธีการคนควาและศึกษาของมูลทางดานโลจิสติกที่ทันสมัยใหเขาสถานการณในปจจุบัน  4.2.4  สอดแสรกเรื่องการมีมนุยษสัมพันธที่ดีและการทํางานรวมกับผูอื่น  4.2.5  กําหนดการทํางานกลุมโดยใหหมุนเวียนการเปนผูนําและผลัดกันเปนผูรายงาน
4.3.1  ประเมินผลผลงานที่ไดรับมอบหมาย  4.3.2  ประเมินรายงานการแบงหนาที่ในการทําโครงงานที่เกี่ยวกับดานโลจิสติกส  4.3.3  ประเมินจากรายงานการนําเสนอโครงงานทางดานโลจิสติกส  4.3.4  ประเมินผลจากพฤติกรรมและการแสดงออกของของนักศึกษา  4.3.5  สังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกในการนําเสนอรายงานทางดานโลจิสติกส
5.1.1   มีทักษะการใชภาษาไทยในการอธิบายหลักการและสถานการณตลอดจนการสื่อสาร ความหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ  5.1.2  สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมขอมูลและนําเสนอรายงาน  5.1.3   มีความรูพื้นฐานทางคณิตศาสตรและสถิติในอันที่จะวิเคราะหสถานการณตลอดจนนําเสนอ ขอมูลโดยใชคณิตศาสตรหรือสถิติ  5.1.4  ใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารได
5.2.1  ฝกใหนักศึกษานําเสนอวิธีการแกปญหาและจัดทําแบบรายงานดวยหลักการใชภาษาไทยที่ถูกตอง 

5.2.2  มอบหมายงานใหศึกษาคนควาดวยตนเอง จากเว็บไซตสื่อการสอน E- Learning  5.2.3  สงเสริมวิธีการนําตัวเลข หรือมีสถิติอางอิง จากแหลงที่มาขอมูลที่นาเชื่อถือมาใชในงานทางดานโลจิสติกส 
5.2.4  สงเสริมใหใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อนําเสนอในการแกไขปญหาทางดานโลจิสติกส
5.3.1  ประเมินจากการนําเสนอ และรูปแบบรายงาน  5.3.2  ประเมินจากที่มาและแหลงอางอิงคของขอมูลที่ไดจากการคนควาในเลมรายงาน 
5.3.3   มีวิธีการคํานวนทางคณิตศาสตรและสถิติเพื่อนําขอมูลที่ไดมาใชดําเนินงานการแกไขปญหา ทางดานโลจิสติกส  5.3.4   รับฟงการนําเสนอรายงานที่เปนภาษาอังกฤษจากนักศึกษา และตรวจสอบวิธีการเขียนแบบ รายงานดวยภาษาอังกฤษในเลมรายงานวิจัย
6.1.1  มีทักษะในการบริหารจัดการดานเวลา เครื่องมือ อุปกรณและวิธีการไดอยางมีประสิทธิภาพ  6.1.2  มีทักษะในการการปฏิบัติงานเปนกลุม มีการแบงหนาที่รับผิดชอบ
6.2.1  ฝกนักศึกษาใหมีกิจนิสัยที่ดีในการปฏิบัติงาน  6.2.2  ใหความสําคัญตอการปฏิบัติงานอยางเปนระบบและมีความประณีต
6.3.1  ประเมินผลจากแบบรายงานการปฏิบัติงานและการจดบันทึกที่เกี่ยวกับงานทางดานโลจิสติกส  6.3.2 พิจารณาผลการปฏิบัติงาน รวมทั้งงานที่มอบหมาย
 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
คู่มือการทำปริญญานิพนธ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ล้านนาเชียงราย