ระบบอัตโนมัติ

Automatic System

1.1  เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานระบบควบคุมอัตโนมัติ
1.2  เพื่อให้มีทักษะในการควบคุมระบบควบคุมอัตโนมัติได้
1.3  สามารถบูรณาการความรู้และทักษะการควบคุมอัตโนมัติเข้ากับศาสตร์อื่น ๆ ได้
1.4  สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
1.5  เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม มีจริยธรรม มีความรับผิดชอบ และการทำงานเป็นกลุ่ม 
2.1 เพื่อให้เนื้อหาของหลักสูตรมีความทันสมัยและสามารถใช้ได้ตามสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางด้านวิศวกรรมศาสตร์
2.2 เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคิดวิเคราะห์ทางด้านวิทยาศาสตร์ได้
2.3 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและมีทักษะการแก้ปัญหาได้
2.4 เพื่อปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนโดยให้ผู้เรียนเกิดแนวคิด  เกิดทักษะในการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์  สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบวงจรซีเควนซ์ การใช้คาร์นาฟกราฟในการออกแบบวงจรลอจิก อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ การต่อพ่วงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน การวางระบบยูทิลีตี้ที่จำเป็นสำหรับระบบอัตโนมัติ กรณีศึกษาสำหรับระบบอัตโนมัติในงานวิศวกรรมเกษตรและชีวภาพ
3.1 อาจารย์ประจำวิชาแจ้งให้นักศึกษาทราบเกี่ยวกับห้องทำงาน ตารางสอน เวลาว่างในแต่ละสัปดาห์
3.2 อาจารย์ประจำวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
4.1 คุณธรรม จริยธรรม
          4.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
          4.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
          4.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
          4.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
4.2 ความรู้
          4.2.1 มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติงานในเนื้อหาวิชา
          4.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ๆของวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ
          4.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในด้านวิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
4.3 ทักษะทางปัญญา
          4.3.1 มีทักษะการจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
          4.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 
4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
          4.4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
          4.4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
          4.4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
          4.4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
          4.5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
          4.5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
          4.5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1 คุณธรรม จริยธรรม ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
4.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
 
 
 
4.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
 
 
 
 
4.1.4เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
- เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
 
- สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
 
 
 
- ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม - การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
- ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
- สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
- ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
  4.2 ความรู้ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.2.1 มีความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาของวิชาที่เรียน
 
4.2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวกับวิชาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มและระบบการให้น้ำ
4.2.3 สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
  - ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
 
- จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  - ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี สำหรับการปฏิบัติประเมินจากผลงานและการปฏิบัติการ
- ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรมของผู้เรียน
 
 
- สังเกตจากการนำไปประยุกต์ใช้ในการฝึกงาน
  4.3 ทักษะทางปัญญา ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
4.3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ - ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
- มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์ - ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
 
-ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
  4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
 
 
4.4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
4.4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม - ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
- กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
- ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
- ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม - ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
 
 
- ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
 
- ประเมินพฤติกรรมภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
 
- สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง 4.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
4.5.2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
4.5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
 
- ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
- มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น - สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
- สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
 
- ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงานด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ 4.6 ทักษะพิสัย ผลการเรียนรู้ วิธีการสอน วิธีการประเมิน 4.6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.6.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี -สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
-สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
-สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
-จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
-สนับสนุนการทำโครงงาน
-การฝึกงานในสถานประกอบการณ์ - มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
-มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
-มีการประเมินผลการทางานในภาคปฏิบัติ
-มีการประเมินโครงงานนักศึกษา
-มีการประเมินนักศึกษารายวิชาฝึกงานในสถานประกอบการณ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 4.1.3, 4.1.4, 4.2.1, 4.2.3, 4.3.2 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-16 8 17 30% 20% 20%
2 4.2.1, 4.2.3, 4.3.2, 4.5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 4.1.1, 4.1.2, 4.2.2, 4.3.1, 4.3.2, 4.4.3, 4.4.3, 4.5.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
PowerPoint และตำรา
- วิศวกรรม/ระบบอัตโนมัติ
          - ตำราภาษาไทยและอังกฤษ
          - เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
         - เอกสาร e-learning
          การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
                   1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
                   1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
                   1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
                   2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
                 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
                 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
          หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
                   3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
                   3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
                   4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
                   4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
          จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
                   5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
                   5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ