ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
Academic English
1) สามารถอ่านบทความทางวิชาการ
2) สามารถเขียนสรุปความบทความทางวิชาการ
3) สามารถเขียนย่อหน้าประเภทต่างๆได้
4) สามารถนำเสนองานทางวิชาการ
2) สามารถเขียนสรุปความบทความทางวิชาการ
3) สามารถเขียนย่อหน้าประเภทต่างๆได้
4) สามารถนำเสนองานทางวิชาการ
เพิ่มกระบวนการเรียนรู้โดยเปิดโอกาสให้นักศึกษาค้นคว้า และสืบค้นข้อมูลด้วยตัวเองจากอินเตอร์เน็ต โดยให้นักศึกษาสืบค้นบทความทางวิชาการและ วีดีโอ คลิป จากอินเตอร์เน็ท ซึ่งเป็นผลจากการทดลองใช้สื่อการสอนจากอินเตอร์เน็ตในการเรียนการสอนในรายวิชาอื่นๆในสาขา และพบว่าเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนภาษาอังกฤษ และส่งเสริมให้เกิดการค้นคว้าหาความรู้นอกห้องเรียน
ศึกษาและฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน เพื่อค้นคว้าทางวิชาการ
Study and practice English skills for academic purposes with all four skills of language covered the academic research work
Study and practice English skills for academic purposes with all four skills of language covered the academic research work
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
1.2 มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
1.4 มีความซื่อสัตย์ กตัญญู เที่ยงธรรม
1.5 สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและส่วนรวม
1.2 มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะ เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
1.4 มีความซื่อสัตย์ กตัญญู เที่ยงธรรม
1.5 สุภาพ อ่อนน้อมถ่อมตน รู้จักกาลเทศะ ใจกว้าง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
1.6 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและส่วนรวม
สอดแทรกกรณีศึกษาระหว่างการเรียนการสอน
1. การสังเกตพฤติกรรมในการเข้าเรียน
2. การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
3.การนำเสนองาน
2. การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
3.การนำเสนองาน
2) ด้านความรู้ (Knowledge)
2.1 มีความรอบรู้อย่างกว้างขวางในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้
2.1 มีความรอบรู้อย่างกว้างขวางในศาสตร์ที่เป็นพื้นฐานของชีวิต และสามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตได้
บรรยาย ให้แบบฝึกหัด มอบหมายกิจกรรมนอกห้องเรียน การทำงานเป็นกลุ่ม และมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความ และ คลิปวีดีโอข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาเสนอ และสรุป ให้เขียนรายงาน และให้นำเสนอหน้าห้องเรียน
1. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของแบบฝึกหัด
2. ข้อสอบย่อย,
3. ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค
4. งานที่ได้รับมอบหมาย
2. ข้อสอบย่อย,
3. ข้อสอบกลางภาคและข้อสอบปลายภาค
4. งานที่ได้รับมอบหมาย
3.1เป็นผู้ใฝ่รู้ และมีความ สามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
3.2สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลได้ มีวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์
3.3 นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.2สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลได้ มีวิสัยทัศน์ และความคิดสร้างสรรค์
3.3 นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
ฝึกตอบปัญหาและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน งานกลุ่ม
2. ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1 มีความสามารถในการทำงานเป็นทีม ปรับตัวให้เข้ากับวัฒนธรรมองค์กร สามารถ
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2 ตระหนักถึงสิทธิของตนเองและผู้อื่น และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์
ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.2 ตระหนักถึงสิทธิของตนเองและผู้อื่น และยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของมนุษย์
กิจกรรม
งานกลุ่ม
กำหนดความรับผิดชอบ
งานกลุ่ม
กำหนดความรับผิดชอบ
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
2. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินการนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม
5.1 สามารถใช้ภาษาในการติดต่อสื่อความหมายได้ดี ทั้งการฟั
5.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือก
ข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมง พูด อ่าน เขียน
5.2 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์และคัดเลือก
ข้อมูลจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมง พูด อ่าน เขียน
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย
.1 มีทักษะปฏิบัติ และสามารถแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานตามสภาพจริงได้
รายงาน
1. สังเกตพฤติกรรม
2. ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
2. ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรมจริยธรรม | 2. ความรู้ | 3. ทักษะทางปัญญา | 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี | 6.ด้านทักษะปฏิบัติ | ||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 | 1.2 | 1.3 | 1.4 | 1.5 | 1.6 | 2.1 | 3.1 | 3.2 | 3.3 | 4.1 | 4.2 | 4.3 | 4.4 | 5.1 | 5.2 | 5.3 | 6.1 |
1 | GEBLC103 | ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 2.1, 2.3, 3.1, | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9,17 | 30% 30% |
2 | 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 | ตลอดภาคการศึกษา | 30% | |
3 | 1.1, 1.3, 3.1, 4.1, 4.3, 5.1, 5.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การสังเกต | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
ตำราและเอกสารหลักที่ใช้ในการเรียนการสอน
Keith S. Folse, et al. (2010). From Great Paragraphs to Great Essays. Heinle Cengage Learning.
Spoken academic communication
Jay, Antony and Ros Jay (2000). Effective presentations. London: Prentice Hall.
Madden, Carolyn G. and Theresa N. Rohlck (1997). Discussion and interaction in the academic community. Ann Arbor, MI: University of Michigan Press.
Written academic communication
Leki, Ilona (1998). Academic writing: exploring processes and strategies. Cambridge:
Cambridge University Press.
Reading and listening in academic contexts
Lebauer, Susan (1999). Learn to listen, listen to learn: academic listening and note-taking. New York: Pearson ESL.
Waters, Mary and Alan Waters (1995). Study tasks in English. Cambridge: Cambridge
University Press.
Carter, Ronald, Rebecca Hughes and Michael McCarthy (2000). Exploring grammar in context: upper-intermediate and advanced. Cambridge: Cambridge University Press.
Collins COBUILD English dictionary for advanced learners (2001). Glasgow: Collins.
McCarthy, Michael and Felicity O'Dell (2001). English vocabulary in use: upper-intermediate. Cambridge: Cambridge University Press.
Keith S. Folse, et al. (2010). From Great Paragraphs to Great Essays. Heinle Cengage Learning.
Spoken academic communication
Jay, Antony and Ros Jay (2000). Effective presentations. London: Prentice Hall.
Madden, Carolyn G. and Theresa N. Rohlck (1997). Discussion and interaction in the academic community. Ann Arbor, MI: University of Michigan Press.
Written academic communication
Leki, Ilona (1998). Academic writing: exploring processes and strategies. Cambridge:
Cambridge University Press.
Reading and listening in academic contexts
Lebauer, Susan (1999). Learn to listen, listen to learn: academic listening and note-taking. New York: Pearson ESL.
Waters, Mary and Alan Waters (1995). Study tasks in English. Cambridge: Cambridge
University Press.
Carter, Ronald, Rebecca Hughes and Michael McCarthy (2000). Exploring grammar in context: upper-intermediate and advanced. Cambridge: Cambridge University Press.
Collins COBUILD English dictionary for advanced learners (2001). Glasgow: Collins.
McCarthy, Michael and Felicity O'Dell (2001). English vocabulary in use: upper-intermediate. Cambridge: Cambridge University Press.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
Oxford และ Cambridge Dictionary Online
Oxford และ Cambridge Dictionary Online
การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน, แบบประเมินการเรียนการสอน, ข้อเสนอแนะผ่านแบบประเมินการสอน
กำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยให้นักศึกษาประเมินการสอนในแบบประเมินการเรียนการสอน
มีการประชุมผู้สอนเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและหาแนวทางแก้ไข ปรับปรุงกิจกรรมและเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนทุกภาคการศึกษา
กำหนดให้อาจารย์ทุกคนในกลุ่มวิชาประชุมเพื่อที่จะประเมินความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน
จัดให้มีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา เนื้อหาที่สอน กลยุทธ์การสอน โดยพิจารณาผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา และเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารายวิชาเสนอต่อ หัวหน้ากลุ่มวิชา เสนอต่อกรรมการประจำคณะพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปเพื่อวางแผนปรับปรุงในปีการศึกษาต่อไป