การปรับปรุงพันธุ์สัตว์

Animal Breeding

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความสำคัญของการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์ใช้หลักพันธุศาสตร์ในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์สถิติในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจความสำคัญของเทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจแนวทางการปรับปรุงพันธุ์สัตว์ในประเทศไทย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจการประยุกต์หลักการทางพันธุกรรมเพื่อปรับปรุงพันธุ์สัตว์ วิธีการผสมพันธุ์แบบต่าง ๆ หลักการผสมพันธุ์สัตว์เพื่อการค้าและการผสมพันธุ์แท้  แผนการผสมพันธุ์สัตว์  การคำนวณหาค่าอัตราพันธุกรรม ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของลักษณะต่าง ๆ  สมาคมพันธุ์สัตว์ ปัญหาเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรมในลักษณะคุณภาพและปริมาณของปศุสัตว์การประมาณพารามิเตอร์ทางพันธุกรรมความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมวิธีการคัดเลือกและผสมพันธุ์สัตว์แผนการผสมพันธุ์สัตว์เพื่อการค้าการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพเพื่อการปรับปรุงพันธ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ5ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1.ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานที่ได้รับมอบหมายการเข้าร่วมกิจกรรม
2.ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1.   เข้าใจความรู้พื้นฐานของศาสตร์สาขาต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการดำรงชีวิต
2.   มีความรอบรู้ โดยการผสมผสานเนื้อหาในศาสตร์ต่าง  ๆ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
      วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
3.   แสวงหาความรู้จากงานวิจัย  หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
3. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง
1.  การนำเสนอหน้าชั้นเรียนการสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
3.  ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.   สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม      
2.   สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
3.   สามารถคิดวิเคราะห์ รู้เท่าทันสถานการณ์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
4.   สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อทำความเข้าใจและสร้างสรรค์สังคม
1.  จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่นสะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา ฯลฯ
2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
1.  การเขียนรายงานของนักศึกษา
2.  การนำเสนอผลงาน
3.  การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
1.   มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้นำหรือสมาชิกของกลุ่ม   
2.   สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ทั้งในฐานะผู้นำและ
      สมาชิกของกลุ่ม
3.   มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.   สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมรวมทั้งดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข
5.   รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2.  สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ
สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะทำกิจกรรมกลุ่ม การนำเสนอผลงานเป็นกลุ่ม ประเมินความสม่ำเสมอของการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ประเมินโดยเพื่อนร่วมชั้น
1.   สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียน
2.  ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์
      เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
3.   เข้าใจปัญหา วิเคราะห์ และเลือกใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสถิติที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา
จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหลากหลายและเหมาะสม

จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติ
ทักษะการพูดในการนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเขียนรายงาน ความสามารถในการใช้ทักษะทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่ออธิบาย อภิปรายผลงานได้อย่างเหมาะสม

เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาเชิงตัวเลข
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน 2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย 3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 4. มอบหมายให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นำ สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ 5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ 1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง 3. จัดบรรยายพิเศษโดยวิทยากรภายนอกที่มีความเชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์ตรง 1. จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิด ทั้งในระดับบุคคลและกลุ่ม เช่นสะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา ฯลฯ 2. จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง 1. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่มและงานที่ต้องมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 2. สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ 1. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ 2. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหลากหลายและเหมาะสม 3. จัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนนำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติ -
1 23023301 การปรับปรุงพันธุ์สัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบผ่านไม่น้อยกว่า 50% สอบกลางภาค 9 25
2 สอบผ่านไม่น้อยกว่า 50% สอบปลายภาค 17 25
3 ทำแบบฝึกหัดแบบฝึกหัดครบและถูกต้อง มอบหมายงานให้ทำแบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 25
4 ทำรายงานได้อย่างถูกต้อง มอบหมายงานให้ทำรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
5 นำเสนองานมอบหมายครบและถูกต้อง มอบหมายงานให้ทำงานกลุ่ม การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 15
เกชา  คูหา. 2555.  หลักการปรับปรุงพันธุ์สัตว์.  สาขาสัตวศาสตร์และประมง  คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร.  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.  น่าน. สมชัย  จันทร์สว่าง.  2530.  การปรับปรุงพันธุ์สัตว์.  ภาควิชาสัตวบาล  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ ฯ. 


สุรินทร์  ปิยะโชคณากุล.  2543.  พันธุวิศวกรรมเบื้องต้น.  สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพ ฯ. Becker, W. A.  1975.  Manual of Procedures in Quantitative Genetics.  Published by Program in Genetics.  Washington State University, Pullman.  Washington, USA. Falconer, D. S., and T. F. C. Mackay.  1996.  Introduction to Quantitative Genetics.  4th Ed. Longman Group Ltd.,  London, UK. Bourdon, R. M.  2000.  Understanding Animal Breeding.  2nd ed.  Prentice Hall, Inc.  New Jersey, USA.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน  ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย ฯ  โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้

สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา


 การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4