การสัมมนาภาษาอังกฤษ

Seminar in English

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านภาษาในการสัมมนาเชิงวิชาการ ฝึกการใช้สำนวนภาษาอังกฤษเพื่อนำไปประยุกต์ใช้การนำเสนอผลงาน และการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ
การค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ นำมาสรุปและนำเสนอในรูปแบบของการสัมมนา
1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน
1.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
 
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้จากการค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปและนำเสนอข้อมูลในหัวข้อที่สนใจ กับศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในรูปแบบของการสัมมนา
 
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่สนใจจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ เพื่อนำมาสัมมนาในชั้นเรียน
2.2.3 ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค
2.3.2 การวิเคราะห์บริบทจากกรณีศึกษา และตัวอย่างต่าง ๆ
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้านการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการสัมมนาเชิงวิชาการ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
3.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสัมมนาเชิงวิชาการ
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่ม เพื่อแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การฝึกปฏิบัติ การทำงานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม 
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการทำงานเป็นทีม และการแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการทำงานได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกันระดมสมองในการฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน
ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อเป็นเครื่องมือในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
5.2.1 สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้สื่อและเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการสืบค้นและศึกษา
5.2.2 ให้นักศึกษาฝึกใช้เทคโนโลยีประกอบการนำเสนอเชิงวิชาการในสถานการณ์ต่าง ๆ
5.3.1 ผลการฝึกจัดทำและใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอของนักศึกษา
5.3.2 ผลจากการค้นคว้าข้อมูล และศึกษาเพิ่มเติมของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการเเละเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ที่มีได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 3.3 มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรมสากล 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1 13031023 การสัมมนาภาษาอังกฤษ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 Class attendance and participation 1-17 10%
2 2, 3 Oral presentations 1-17 40%
3 1, 4, 5 โครงการสัมมนา 12-15 30%
4 1, 2, 3, 4, 5 Individual interview and self-reflection 8, 17 20%
Jeab  Chaitongrut. 2557.  วตัถุประสงคก์ารจดัสัมมนาและประโยชนก์ารจดัสัมมนา. https://www.l3nr.org/posts สืบคน้เมื่อ 15  กรกฎาคม 2557.  นิรันดร์ จุลทรัพย์    (2547 :  269)  กล่าวว่า  ค าว่า  “สัมมนา” . 2557.ความหมายของค าว่าสัมมนา. https://sites.google.com/site/karsammna/khana/sarbay/bth-thi-1-khwam-ru-thawpi-keiyw-kab-karsammna/khwam-hmay-khxng-kar-sammna/watthuprasngkh-laea-pea-hmay-khxng-kar-sammna/xngkhprakxb-khxng-kar-sammna.  สืบคน้ 15  กรกฎาคม 2557
Singapore Polytechnic (2015). Design thinking Handbooks. Singapore: Singapore polytechnic.
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่คณะมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนนพฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์