ปฏิบัติการทดสอบวัสดุการทาง

Highway Materials Testing Laboratory

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบงานทางหลวง ลักษณะการจราจร  เศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการวางแผนสร้างทาง  ออกแบบทางด้านเรขาคณิต  วัสดุที่ใช้ในงานทาง  ออกแบบผิวทาง  วิธีการก่อสร้างทางและการบำรุงรักษาทาง และเห็นความสำคัญของงานด้านวิศวกรรมการทาง
ปฏิบัติการเกี่ยวกับทดสอบคุณสมบัติของวัสดุการทาง ดิน มวลรวมและแอสฟัลต์ เพื่อการออกแบบและก่อสร้างทางในห้องปฏิบัติการ  ทดสอบวัสดุทางภาคสนามเพื่อควบคุมงานก่อสร้าง
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของถนน วิวัฒนาการทางหลวงในประเทศไทย หลักการเบื้องต้นของการวางแผนสร้างทางและการวิเคราะห์การจราจร การเงินและเศรษฐศาสตร์  การสำรวจและออกแบบทางด้านเรขาคณิต  วัสดุการทาง  การออกแบบถนนลาดยางและถนนคอนกรีต การระบายน้ำ การก่อสร้างและบำรุงรักษา
1  ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ กล้าแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณทางวิชาการ มีวินัย และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครูตามข้อบังคับของครุสภา
กำหนดกติกาของการเข้าชั้นเรียน ซึ่งมีคะแนนเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ให้มีการทำรายงานเป็นกลุ่ม  เพื่อฝึกความเป็นผู้นำ และผู้ตาม ยอมรับการฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม  ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1.ให้คะแนนการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา
2   สังเกตการทำงานในกลุ่ม  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1 มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์พื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านการวิเคราะห์และทดสอบวัสดุการทาง
2 มีความรู้และความเข้าใจขั้นตอน วิธีการทดลองวัสดุการทาง
3 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลจากผลการทดลองได้
4 สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาในการปฏิบัติงานจริงได้
1  ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นการประยุกต์หลักทางทฤษฎีกับการทดลองในห้องปฏิบัติการและภาคสนาม  ยกตัวอย่างสถานการณ์จริงประกอบการอธิบาย  ปฏิบัติการทดลอง
 2  อธิบาย ยกตัวอย่างวิธีวิเคราะห์ข้อมูล จากการทดลอง
 3   ให้มีการมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงานผลจากข้อมูลการทดลอง วิเคราะห์ และนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
1  พิจารณาจากการลงมือปฏิบัติการทดลอง
  2   ประเมินจากความสมบูรณ์ ความถูกต้องของรายงานจากผลการทดลอง
1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
2 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและการสรุปผล
3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง  เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต  และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
1 ให้นักศึกษาปฏิบัติการทดลองแบบกลุ่ม
2 ให้นักศึกษา ค้นคว้าบทความ งานวิจัยในงานทาง  เพื่อสามารถเสนอหัวข้อรายงาน
1  ประเมินผลจากความถูกต้องของรายงาน
2  ประเมินผลจากความน่าสนใจของหัวข้อรายงาน  ความถูกต้อง และการนำไปใช้งานได้จริง
1 สามารถสื่อสารแลทำงานร่วมกับกลุ่มทดลองและประสานงานระหว่างกลุ่มทดลองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่าง
1 อธิบายวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนและทำรายงานผลการทดลองเชิงวิชาการ
2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มทดลอง
1 ประเมินผลจากรายงานและการนำเสนอ 
2 สังเกตจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน
1  ยกตัวอย่างการนำเสนอที่มีรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2  อธิบายวิธีการจัดทำและนำเสนอรายงาน
3 ประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยคำนวณวิเคราะห์ข้อมูลการทดลอง การแปลผล
1  ประเมินจากรูปแบบการนำเสนอรายงาน
2  ประเมินจากความถูกต้องของรายงาน
3 ความถูกต้องของคำตอบจากการวิเคราะห์ข้อมูลการทดลอง
1 สามารถปฏิบัติการทดลองในห้องปฏิบัติการ และปฏิบัติการทดลองนอกห้องปฏิบัติการได้อย่างถูกต้อง
2 มีความชำนาญในการทดลองมากขึ้น
1 ทำงานทดลองแบบกลุ่ม
2 แบ่งหน้าที่ทำงานกลุ่มตามความถนัดและนำผลที่ได้มาแลกเปลี่ยนข้อมูลภายในกลุ่ม
1 จากการสังเกตขณะทำการทดลองแบบกลุ่มและการทำงานรายบุคคล
2 จากผลงานที่ได้ภายในกลุ่ม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 2 1 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 33014404 ปฏิบัติการทดสอบวัสดุการทาง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 3.1,3.2,4.1,4.2,4.3 และ 6.1 สังเกตทักษะการปฏิบัติการทดลอง ความถูกต้อง ความรับผิดชอบงานที่ทำ การทำงานแบบกลุ่ม ตลอดภาคเรียน 30%
2 1.1,1.2,1.3,2.1,2.2,2.3,4.4,5.1,5.2,5.3 และ 6.2 ตรวจประเมินจากผลงาน การเขียนรายงานทางวิชาการจากผลการทดลองรายบุคคลแต่ละสัปดาห์ ตลอดภาคเรียน 50%
3 1.1,1.3 และ 1.4 การเข้าชั้นเรียน ตรงเวลา/สาย/ขาด พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของนักศึกษา/การแต่งกาย/ความตั้งใจ/ความรับผิดชอบ/ความร่วมมือภายในกลุ่ม/การปฏิบัติด้านความปลอดภัย ตลอดภาคเรียน 20%
1. เอกสารมาตรฐานการทดสอบวัสดุการทาง
2.โปรแกรมประยุกต์ประกอบการวิเคราะห์ ข้อมูลการทดลอง
1 จิรพัฒน์  โชติกไกร. (2531). วิศวกรรมการทาง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
2 วัชรินทร์  วิทยกุล. (2549). เทคโนโลยีถนนยางมะตอย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์-มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
1  กรมทางหลวง  กระทรวงคมนาคม, (2535).  รายละเอียดและข้อกำหนดการก่อสร้างทางหลวง.
2 รักษ์  ศตายุ. การจัดลำดับความสำคัญในการบำรุงทาง. รายงานฉบับที่ วว 69. กองวิเคราะห์วิจัย. กรมทางหลวง. กระทรวงคมนาคม.
3 สำนักเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย,  ความรู้พื้นฐานด้านช่าง–ทางหลวงชนบท. เอกสารประกอบคำบรรยายการอบรมหลักสูตรหัวหน้าส่วนโยธา องค์การบริหารส่วนตำบล.  
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
   1 การเสนอแนวทางการประเมินจากผู้เรียน
   2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
   1   การสังเกตการณ์สอนของผู้หัวหน้าหลักสูตรฯ
   2   ผลการเรียนของนักศึกษา
   3   การทวนสอบผลประเมินการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
   1   การประชุมกลุ่มย่อย
   2    การผลิตสื่อการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
   1  การทวนสอบจากการสัมมนารายงานผลปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาของผู้เรียน
   2  มีการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับจากสถานประกอบการ หรือสถานศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
   1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
   2   ใช้ผู้สอนร่วมหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือหน่วยงานเกี่ยวข้อง