ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน
History of Interior Architecture
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานแบบสถาปัตยกรรมภายในตะวันตกและตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์ เข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมภายในสามารถจำแนกลักษณะเฉพาะรูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง และลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรมภายในตะวันตก และตะวันออกแต่ละสมัย รวมทั้งเห็นคุณค่าของการศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
เพื่อให้เกิดความทันสมัยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และให้นักศึกษาสามารถค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตัวเอง ได้อย่างกว้างขวาง
ศึกษางานสถาปัตยกรรมภายในตะวันตกและตะวันออกในสมัยประวัติศาสตร์ ปัจจัยและบริบทที่มีผลต่อการสร้างสรรค์งานสถาปัตยกรรมภายใน รูปแบบ ประโยชน์ใช้สอย รูปทรง วัสดุก่อสร้าง โครงสร้าง และลักษณะเฉพาะทางสถาปัตยกรรมภายใน
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเรื่องการวัดและประเมินผลการเรียนในชั่วโมงแรก
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 4 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.2.1 อบรม นศ.เพื่อให้ตระหนักถึงความมีวินัย ขยัน อดทนและตรงต่อเวลา
1.2.2 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.2.2 มอบหมายงานกลุ่มเพื่อพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน
พฤติกรรมการพัฒนาทางด้านความมีวินัย ขยัน อดทน รับผิดชอบในการทบทวนบทเรียน
พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียนและสภาพแวดล้อม
4. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
4. พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย จำลองสถานการณ์ สอบถามเพื่อทบทวนความรู้
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.2 มอบหมายงานกลุ่ม
2.2.3 สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 สอบเก็บคะแนนรายสัปดาห์ ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายมีความเข้าใจในเนื้อหาและองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี
2.3.3 การอภิปรายในชั้นเรียน และ การนำเสนอผลงาน เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาและทฤษฎี
2.3.2 ผลงานที่มอบหมายมีความเข้าใจในเนื้อหาและองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี
2.3.3 การอภิปรายในชั้นเรียน และ การนำเสนอผลงาน เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาและทฤษฎี
3.1.1 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 บรรยายโดยเน้นการสร้างความเข้าใจ และกระตุ้นให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.2.2 อภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพัฒนาปัญญา
3.2.3 มอบหมายงานที่ต้องค้นคว้าและวิเคราะห์ร่วมกัน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
3.3.2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
3.3.2 ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1 คุณธรรม จริยธรรม | 2 ความรู้ | 3 ทักษะทางปัญญา | 4 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ | 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 1 | 2 | 3 | 4 | 1 | 2 | 3 |
1 | 42022207 | ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมภายใน |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.3.1 1.3.2 1.3.3 1.3.4 | สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน พฤติกรรมการพัฒนาทางด้านความมีวินัย ขยัน อดทน รับ ผิดชอบในการทบทวนบทเรียน พฤติกรรมการเข้าเรียน การส่งงาน การดูแลห้องเรียน และ สภาพแวดล้อม พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษา | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
2 | 2.3.1 2.3.2 2.3.3 | สอบเก็บคะแนนรายสัปดาห์ ด้วยข้อสอบวัดความรู้ ความเข้าใจในหลักการและทฤษฏี ผลงานที่มอบหมายมีความเข้าใจในเนื้อหาและองค์ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎี การอภิปรายในชั้นเรียน และ การนำเสนอผลงาน เพื่อความเข้าใจในเนื้อหาและทฤษฎี | 10-16 1-7 | 15% 10% |
3 | 3.3.1 3.3.2 | สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล ผลงานที่นำเสนอมีองค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ | 9 18 | 35% 30% |
-Mary Jo Weale,Environtal interior.Macmillan Publishing. Co.Inc.1982
-Sembach:Leuthauser:Gossel,Furniture Design.Tachen.1991
- Phyllis Bennett Oates,The Story Of Western Furniture.The Herbert Press
-Winand Klassen,History of Western Architecture.San Carlos Publications.1990
- Mary Gilliatt,Period Style.Little brown and company.1990
-Bauhaus Archive ,Magdalena Droste,Bauhaus1919-1933.Benedikt Taschen.1993
-John F. Pile, History of Interior Design, Laurence King, 4th edition.2013
-Michael Fazio, World history of Architecture, Laurence King, 3rd edition.2013
-Sembach:Leuthauser:Gossel,Furniture Design.Tachen.1991
- Phyllis Bennett Oates,The Story Of Western Furniture.The Herbert Press
-Winand Klassen,History of Western Architecture.San Carlos Publications.1990
- Mary Gilliatt,Period Style.Little brown and company.1990
-Bauhaus Archive ,Magdalena Droste,Bauhaus1919-1933.Benedikt Taschen.1993
-John F. Pile, History of Interior Design, Laurence King, 4th edition.2013
-Michael Fazio, World history of Architecture, Laurence King, 3rd edition.2013
History of Interior Architecture
http://www.furniturestyles.
http://www.galerieversailles.com
http://www.artsz.org
http://www.adriennechinn.co.uk
http://www.galerieversailles.com
http://www.artsz.org
http://www.adriennechinn.co.uk
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.1การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านห้องสนทนา ที่อาจารย์ผู้สอนได้แนะนำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์ผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์ผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ จากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญ จากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่ มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้ กับปัญหาที่ มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ