โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก

Reinforced Concretes Structure

1.รู้หลักทั่วไปในการออกแบบและคำนวณโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
2.เข้าใจการออกแบบและคำนวณ คาน พื้น บันได เสา และฐานราก คอนกรีตเสริมเหล็ก
3.เข้าใจการออกแบบและคำนวณโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กของอาคารขนาดเล็ก
4.เห็นความสำคัญของวิชาการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการหาแรงที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง คุณสมบัติของการคิดเพื่อนำไปใช้ในการออกแบบทางด้านงานสถาปัตยกรรม
ศึกษาคุณสมบัติของคอนกรีตเสริมเหล็ก การคำนวณโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก คาน พื้น บันได เสา ฐานราก กำแพงรับน้ำหนัก การออกแบบและคำนวณอาคารขนาดเล็ก
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ
มีวินัย  ขยัน  อดทน  ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม  และสิ่งแวดล้อม
บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง ปฏิบัติการคำนวณหาแรงต่าง ๆ ที่กำหนด กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2   สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาในชั้นเรียน
3   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4   พฤติกรรมการเข้าเรียน  การส่งงาน 
5   ประเมินผลจากความรับผิดชอบในการมอบหมายงาน
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ  ที่เกี่ยวข้อง
1  บรรยาย  อภิบาย  ยกตัวอย่างประกอบการสอน
2  มอบหมายงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
3  สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1    สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  รายงาน
3   ผลงานที่มอบหมายมีความก้าวหน้าทางวิชาการ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1   บรรยายโดยเน้นความเข้าใจ  ให้นักศึกษาร่วมคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
2อภิบายให้เห็นความเป็นจริงเกี่ยวกับงานทางด้านโครงสร้าง
3   มอบหมายงานให้ทำและค้นคว้า
1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่วัดความเข้าใจ  การคิดวิเคราะห์เชิงเหตุผล
2   สังเกตพฤติกรรมในการทำงาน  และการแก้ปัญหาในการทำงาน
1มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
1   การมอบให้นักศึกษาทำรายงานที่ให้วิเคราะห์และการแก้ปัญหา  และการนำเสนอผลงาน
2   วิเคราะห์กรณีศึกษา  โดยการนำเสนอด้วยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
3  การสะท้อนแนวคิดจากการนำเสนอผลงาน
1  สังเกตพฤติกรรมการศึกษาและการอยู่ร่วมกันของนักศึกษาในชั้นเรียน
2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ
3  ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
 สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1   มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  จากเว็บไซต์  จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2   ให้นักศึกษานำเสนอผลงานด้วยวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1   ประเมินทักษะการใช้เครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสมจากผลงานและวิธีการนำเสนอ
2   ประเมินทักษะการสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42013308 โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3,1.4,4.1 และ 4.2 การเข้าเรียน ความตรงเวลา การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.3,1.2,2.2,2.3,3.1,3.2,4.3 และ 4.4 การบ้าน งานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.1,1.2,2.1,2.3,3.1,5.1,5.2 และ 5.3 สอบกลางภาค 9 30%
4 1.1,1.2,2.1,2.3,3.1,5.1,5.2 และ 5.3 สอบปลายภาค 17 30%
วินิต  ช่อวิเชียร.  คอนกรีตเสริมเหล็ก.  กรุงเทพฯ : 2537
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย. มาตรฐานสำหรับอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก.กรุงเทพฯ.2527
เอกสารประกอบการสอน
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่สาขาฯ ได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
1   การสังเกตการณ์สอน
2   ผลการเรียนของนักศึกษา
3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์