การบริหารโครงการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Project Management in Computer Engineering

              เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการโครงการคอมพิวเตอร์ วงจรโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ การวางแผนโครงการ การประเมินโครงการ องค์การและบทบาทของผู้ร่วมงานโครงการ การทบทวนโครงการ การคิดทบทวนและการควบคุมการจัดทำโครงการ
             เพื่อให้นักศึกษา มีความรู้และทักษะเกี่ยวกับ การเตรียมการเบื้องต้นสำหรับการทำโครงการ การจัดการและความสำเร็จ การประเมินราคาและความเสี่ยง การประเมินคุณภาพของระบบ การทดสอบและการติดตั้งระบบ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ร่วมงาน ต้นทุน การจัดการด้านการเงิน การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารบุคคล กลยุทธ์ในการทำงานร่วมกัน การใช้ระบบสำเร็จเบ็ดเสร็จ การเจรจาการค้าสากล นโยบายทางการค้า การค้าต่างประเทศ ลูกค้าสัมพันธ์และกฎหมายการค้า
             ศึกษาความรู้เกี่ยวกับ การเตรียมการเบื้องต้นสำหรับการทำโครงการ การจัดการและความสำเร็จ การประเมินราคาและความเสี่ยง การประเมินคุณภาพของระบบ การทดสอบและการติดตั้งระบบ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ผู้ร่วมงาน ต้นทุน การจัดการด้านการเงิน การวางแผน การจัดองค์กร การบริหารบุคคล กลยุทธ์ในการทำงานร่วมกัน การใช้ระบบสำเร็จเบ็ดเสร็จ การเจรจาการค้าสากล นโยบายทางการค้า การค้าต่างประเทศ ลูกค้าสัมพันธ์และกฎหมายการค้า
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ Facebook https://www.facebook.com/groups/176990785828164/
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม แสดงความซื่อสัตย์สุจริตอย่างสม่ำเสมอ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยคุณธรรมและจริยธรรม เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม
 


ให้ความสำคัญในด้านวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1. การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
2. ประเมินจาก ปริมาณการทุจริตในการสอบ
3. พิจารณาผลจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตากฎระเบียบข้อบังคับต่างๆอย่างต่อเนื่อง
1. เข้าใจ และวิเคราะห์หลักการและทฤษฎีพื้นฐานด้านการบริหารโครงการ
2. สามารถนำไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านบริหารโครงการทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
3.เข้าใจ และวิเคราะห์หลักการของศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโครงการ เช่นหลักกฎหมาย หลักการจัดการ เป็นต้น และสามารถนำมาประยุกต์ใช้งาน
1. ใช้รูปแบบในการสอนที่หลากหลายโดยเน้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง
2. มอบหมายให้ทำรายงานการประยุกต์ใช้การบริหารโครงการและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 
3. จัดทำแบบจำลองศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้
1. สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา
2. ประเมินผลจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและรายงาน
3. สังเกตพฤติกรรมและจำนวนนักศึกษาที่เข้าเรียน
3.1.1   มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมาตลอดจนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริง
3.1.2   สามารถแก้ปัญหาทางฐานข้อมูลได้โดยนำหลักการต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม
3.1.3   มีความใฝ่หาความ
3.2.1  ฝึกกระบวนการคิดอย่างสร้างสรรค์ตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษาโดยเริ่มต้นจากปัญหาที่ง่ายและเพิ่มระดับความยากขึ้นเรื่อยๆทั้งนี้ต้องจัดให้เหมาะสมและสอดคล้องกับรายวิชา
3.2.2   ฝึกการทำโครงงานในด้านการแก้ไขปัญหาจากสถานการณ์จำลอง
   3.2.3  มอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติจริงในสถานประกอบการจริงเพื่อเป็นการเรียนวิธีการแก้ปัญหา
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3.2   วัดผลการประเมินจากรายงานโครงการ  และการนำเสนอผลงาน
3.3.3   ผลงานของนักศึกษา
3.4.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
3.4.2   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
3.4.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
3.4.4   มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
3.4.5   มีภาวะผู้นำ
4.2.1   ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.2.2   แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
 4.2.3   ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.4   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
4.2.5   ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
4.3.1  สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
4.3.4   สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
4.3.5   สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
3.5.1มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการอธิบายหลักการและสถานการณ์ตลอดจนการสื่อสารความหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.5.2สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูลและนำเสนอรายงาน
3.5.3มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในอันที่จะวิเคราะห์สถานการณ์ตลอดจน
นำเสนอข้อมูลโดยใช้คณิตศาสตร์หรือสถิติ
3.5.4ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.4.1   สามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
6.4.2   มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
6.4.3   สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี
6.4.4   มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
6.4.5   มีภาวะผู้นำ
6.2.1   ส่งเสริมให้นักศึกษาเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
6.2.2   แบ่งหน้าที่ที่รับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
6.2.3   ส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
6.2.4   ส่งเสริมให้นักศึกษากล้าแสดงออกและเสนอความคิดเห็นโดยการจัดอภิปราย
6.2.5   ส่งเสริมให้นักศึกษามีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม
6.3.1  สังเกตจากการทำงานและมีส่วนร่วมในงานกลุ่ม
6.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
6.3.3   การเข้าร่วมกิจกรรมมหาวิทยาลัย
6.3.4   สังเกตจากการอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
6.3.5   สังเกตจากการทำงานกลุ่ม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6,1.7, 2.1, 2.4 – 2.6,3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กิตติ ภักดีวัฒนะกุล , จำลอง ครูอุตสาหะ(2542) คัมภีร์ระบบฐานข้อมูล 2. ดวงแก้ว  สวามิภักดิ์ , ระบบฐานข้อมูล , พิมพ์ที่ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน) , พ.ศ. 2543
3. ณัฐพล อุ่นยัง. เทคนิคการใช้ Microsoft Access ฉบับ Programing, เอส.พี.ซี บุ๊คส์ 4. ณัฐพล อุ่นยัง. เอกสารประกอบการเรียนการสอน 
5. รศ. ดร. วิเชียร เปรมชัยสวัสดิ์, ระบบฐานข้อมูล, สำนักพิมพ์ สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย - ญี่ปุ่น
6. ศิริลักษณ์ โรจรกิจอำนวย. การออกแบบและบริหารข้อมูล , ดวงกมลสมัย จำกัด, พ.ศ. 2542
7. ศุภชัย สมพานิช. Database Programming ด้วย Visual Basic ฉบับมืออาชีพ, info press
8. โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ , การออกแบบและจัดการฐานข้อมูล, พิมพ์ที่ บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่นจำกัด
9. Paolo Atzeni, Stefano Ceri, Database Systems Concepts, Languages and Architectures, The McGraw – Hill Companies 10. Ramez Elmasri, FUNDAMETALS OF DATABASE SYSTEMS, Pearson Education 11.. Peter Rob. Elie seaman, Data bases Design, Development & Deployment, The McGraw – Hill
12. Microsoft Corporation, Microsoft SQL SERVER (Transact – SQL Reference) 13. Ramakrishnan Gehrke, Database Management Systems,  McGraw – Hill
ไม่มี
https://www.facebook.com/groups/176990785828164/
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ