การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Management

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานองค์ประกอบ ประโยชน์การใช้งานระบบสารสนเทศ ผลกระทบ การใช้งานระบบสารสนเทศต่อสังคม การบริหารงานระบบสารสนเทศ
และวิวัฒนาการของการใช้ไอซีที
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูลและคลังข้อมูล การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์  อินเทอร์เน็ต  และพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ บทบาทของระบบสารสนเทศภายในองค์การ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง ปัญญาประดิษฐ์ ระบบผู้เชี่ยวชาญ และระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ ระบบการวางแผนทรัพยากรองค์การ การพัฒนาระบบสารสนเทศเทคโนโลยีและการจัดการความรู้ จริยธรรมและการรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2.มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.3.มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและ ลำดับความสำคัญ 1.1.4.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์ 1.1.5.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.6.สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจาการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม 1.1.7.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1.บรรยายพร้อมมอบหมายงาน 1.2.2.การอภิปรายกลุ่มและรายบุคคล
1.3.1.พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและ
         ตรงเวลา 1.3.2.พฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่ม 1.3.3.ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย
2.1.1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.1.2.สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์  รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา

 

2.1.3.สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์ให้ตรงตามข้อกำหนด 2.1.4.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ 2.1.5.รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.1.6.มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจ ผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ 2.1.7.มีประสบการณ์ในการพัฒนาและหรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง 2.1.8.สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง 2.2.2.การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานที่ได้จากการค้นคว้า
3.3.1.ทดสอบเก็บคะแนน  สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3.3.2.พฤติกรรมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
3.1.1.คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.1.2.สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.1.3.สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.4.สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
3.2.1.มอบหมายให้ทำโครงงานในรูปแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 3.2.2.นำเสนอผลงานที่ได้พัฒนาขึ้น
3.3.1.ทดสอบเก็บคะแนน  สอบกลางภาค สอบปลายภาค 3.3.2.พฤติกรรมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
4.1.1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษา ต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.1.2.สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ

 

ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.1.3.สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.1.4.มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.1.5.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.1.6.มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1.จัดกลุ่มอภิปรายกรณีศึกษา 4.2.2.มอบหมายงานเป็นงานกลุ่ม และรายบุคคล 4.2.3.การนำเสนอรายงาน
4.3.1.รายงานที่นักศึกษานำเสนอ 4.3.2.พฤติกรรมในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
5.1.1.มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.1.2.สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดง สถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.1.3.สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อ การนำเสนออย่างเหมาะสม 5.1.4.สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อสารอย่างเหมาะสม
5.2.1.มอบหมายงานและทำรายงานโดยมีการอ้างอิงแหล่งที่มาที่เชื่อถือได้ 5.2.2.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์ สื่อการสอนและการทำรายงาน 5.2.3.มอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานเพื่อสร้างระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม 5.2.4.นำเสนอโครงงานที่พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1.การมีส่วนร่วมในการอภิปราย หลังจากฟังเพื่อนนำเสนอเสร็จแล้ว 5.3.2.ประเมินจากโครงงานระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่นักศึกษาพัฒนาขึ้น 5.3.3.ประเมินจากการรายงานที่นักศึกษาทำส่ง และการนำเสนอผลงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2, 2.3, 2.4, 2.5, 2.6 3.1, 3.2, 3.3, 3.4, 5.1, 5.2, 5.4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 30% 30%
2 1.3, 1.4, 1.5, 1.6, 1.7, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 4.5, 4.6 , 5.3 วิเคราะห์กรณีศึกษา ค้นคว้าและนำเสนอ ตลอดภาค การศึกษา 30%
3 1.1, 1.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
รองศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์  ทีฆพุฒิ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต  มาลัยวงศ์. การจัดการ
          เทคโนโลยีสารสนเทศ.  สำนักพิมพ์ดอกหญ้า. 2549.
-แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา -การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-ผลการเรียนของนักศึกษา -การทดสอบเก็บคะแนนเพื่อประเมินการเรียนรู้
-สัมมนาการจัดการเรียนการสอน -การวิจัยในชั้นเรียน
ได้จากการสอบถามนักศึกษา และสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมทั้งการทดสอบย่อยและหลัง การรายงานผลการศึกษาในรายวิชา มีการทวนสอบดังนี้ -หัวหน้าหลักสูตรตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา  จากข้อสอบ  รายงาน  และวิธีการ ให้คะแนน
-ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการเรียนตามข้อเสนอแนะและจากผลทวนสอบ -สลับปรับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองที่หลากหลาย