การดำเนินงานและบริการจัดเลี้ยง

Catering Operation and Service

1.1 เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับวิวัฒนาการการจัดเลี้ยง โครงสร้างการปฏิบัติงานด้านการจัดเลี้ยง เทคนิคการให้บริการจัดเลี้ยง
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบงานบริการจัดเลี้ยง
1.3 เพื่อให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้องกับการจัดเลี้ยงในสถานการณ์จริง
         เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ ทักษะใหม่ๆที่มีความสร้างสรรค์ตามยุคสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ร่วมกับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง และนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้อย่างถูกต้องตามหลักการจัดเลี้ยง
ศึกษาวิวัฒนาการการจัดเลี้ยง โครงสร้างการปฏิบัติงานการจัดเลี้ยง ประเภทของการจัดเลี้ยง การกำหนดรายการอาหาร เทคนิคการประกอบอาหาร การตลาดและการขายในงานจัดเลี้ยง การปฏิบัติการและนำเสนอรูปแบบการจัดเลี้ยงประเภทต่างๆ 
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านระบบออนไลน์
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ
3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ   การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ
4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
-สอนคุณธรรม จริยธรรมสอดแทรกในบทเรียนวิชาเฉพาะ
-สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน
-การแสดงออกอันเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน
-สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน
-ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน
1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก
2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ
1.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม-ตอบ
2.  มอบหัวข้อเรื่องให้ค้นคว้าและทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม
3.  อภิปรายเป็นกลุ่ม โดยให้ผู้สอนตั้งคำถามตามระบบการสอนยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
-ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน
1.  มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
2. สามารถสาธิตทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้
3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม
 
 
-การอภิปรายเป็นกลุ่ม
-การทำงานที่ได้รับมอบหมายให้ค้นคว้าหรืองานเกี่ยวกับการพัฒนาเป็นทีม
 
-ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ
-การเขียนรายงาน
1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม
2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรงตามมาตรฐานสากล
1.  บรรจุเนื้อหาความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในรายวิชาชีพ
2.  มอบหมายงานเป็นกลุ่มย่อย และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ โดยหมุนเวียนกันในกลุ่ม
3.  สอนโดยใช้กรณีศึกษา
1.  ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน
2. ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer)
3. สังเกตพฤติกรรมในการเรียน
1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพ
2. สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม
3.  สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.  สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล
-จัดห้องปฏิบัติการ ฝึกให้ใช้อุปกรณ์ทางการท่องเที่ยวและโรงแรม หรือสายการบิน ฯลฯ
-ฝึกให้นำเสนอผลงานที่ค้นคว้าด้วยตนเองในห้องเรียน
-บูรณาการการใช้คอมพิวเตอร์ เครือข่าย และซอฟต์แวร์หรือสื่อต่างๆ ในทุกรายวิชาที่
สามารถทำได้
ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรม และความขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ที่ได้รับกับจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ 2. มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการ ปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตนต่อผู้อื่นอย่างสม่ำเสมอ 3. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ เป็นสมาชิกที่ดี และมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อ การพัฒนาเป็นแบบอย่างที่ดีต่อผู้อื่น และมีภาวะผู้นำ 4. มีวินัย มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1. มีความรู้ในสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติอย่างกว้างขวาง เป็นระบบ เป็นสากล และทันสมัยต่อสถานการณ์โลก 2. มีความรู้ที่เกิดจากการบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. มีความรู้ในกระบวนการ และเทคนิคการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ในงานอาชีพ 1. มีความสามารถประมวล และศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ข้อโต้แย้ง และสังเคราะห์ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ และตามขั้นตอนเชิงวิทยาศาสตร์ รวมทั้งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสมทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก 2. สามารถสาธิตทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 3. มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ ไปสู่การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม และการปฏิบัติงานจริงตามสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 1. มีความสามารถในการปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายตามหน้าที่และบทบาทของตนในกลุ่มงานได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือผู้ร่วมงานและแก้ไขปัญหากลุ่ม 2. สามารถพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง และตรง ตามมาตรฐานสากล 1. สามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนอย่างมี ประสิทธิภาพ 2. สามารถสื่อสารกับชาวต่างชาติได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์และวัฒนธรรม 3. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร รู้จักเลือกรูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่อง และผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมายและการวิเคราะห์ข้อมูล
1 13020009 การดำเนินงานและบริการจัดเลี้ยง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1 -สังเกตการแสดงพฤติกรรมระหว่างผู้เรียนร่วมกันและกับผู้สอนทุกคน (การเข้าชั้นเรียน) -ทำงานเป็นกลุ่ม และรายงานผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 10 %, 5%
2 2 -ทดสอบโดยการสอบข้อเขียนกลางภาค, -ประเมินผลจากการทำงานที่ได้รับมอบหมายและรายงาน 9: 5,8,12,13, 16,17 25 %, 10%
3 3 -ประเมินผลจากผลงานที่มอบหมายให้ทำ -การเขียนรายงาน 14,15 20%
4 4 -ประเมินจากผลงานของกลุ่มและผลงานของผู้เรียนในกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทำงาน -ประเมินตนเอง และประเมินซึ่งกันและกัน (peer) -สังเกตพฤติกรรมในการเรียน 16,17 20%
5 5 ประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน 12,16 10%
Cracknell, Kaufmann and Nobis, PRACTICAL PROFESSIONAL CATERING MANAGEMENT, Thompson. London.
พิสิทธิ์ ธงพุดซา. (2554). การจัดเลี้ยง. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์ พริ้นต์.
วารสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานและบริการจัดเลี้ยงตลอดจนรายงานการวิจัยต่างๆ และรายงานประจำปีขององค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
วารสารวิชาการ วารสารด้านการวิจัย  นิตยสาร รายงานการดำเนินงานประจำปีขององค์กรต่างๆที่เกี่ยวข้อง ที่นักศึกษาสามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลได้ด้วยตนเอง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยใช้แบบประเมินตนเองของนักศึกษาต่อระดับผลการเรียนรู้ และวิธีการสุ่มสัมภาษณ์นักศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะจากผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เชิญอาจารย์ผู้สอนหรือวิทยากรภายนอกเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในธุรกิจการการจัดเลี้ยงได้