การบัญชีบริหาร

Managerial Accounting

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของฝ่ายบริหารภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ การวางแผนและควบคุมสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การบริหารต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้การบัญชีต้นทุน และการวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของฝ่ายบริหารภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ การวางแผนและควบคุมสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การบริหารต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้การบัญชีต้นทุน และการวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของฝ่ายบริหารภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นอนและไม่แน่นอน เช่น การงบประมาณ การวางแผนและควบคุมสินค้าคงคลัง ความสัมพันธ์และการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ และกำไร การบริหารต้นทุนฐานกิจกรรม ระบบต้นทุนรวม ระบบต้นทุนผันแปร การกำหนดราคาสินค้า ราคาโอน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประยุกต์ใช้การบัญชีต้นทุน และการวิเคราะห์ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหาร
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
2. มีความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสถาบันและสังคม
ü 2. สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 1.1.1
1.1.4 ü 3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.1.2
ü 2) การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 1.1.1
1.1.4 ü 3) การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม 1.1.2
1. มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการและวิธีการทางการบัญชี
2. มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชีโดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
3. มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้วิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์

4. สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
ü 1. จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2.1.1
2.1.2
2.1.3
2.1.4 ü 2. จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน 2.1.2

 

ü 6. การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 2.1.1
2.1.2
2.1.3
2.1.4
ü 1. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน 2.1.1
2.1.2
2.1.3
2.1.4

 

ü 7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน 2.1.1
2.1.2
2.1.3
2.1.4
1.  สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูลและแนวคิดต่างๆ เพื่อนำมาใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3. สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ü 4. การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 3.1.1
  ü 5. การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 3.1.3
ü 8. ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา 3.1.3


ü 6. ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน 3.1.1
 
ü 6. มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ 4.1.2
4.1.4


ü 2. จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม 4.1.1
4.1.3
ü สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน 4.1.1
4.1.2
4.1.3
4.1.4
มาตรฐานผลการเรียนรู้ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   1. มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง 2. สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอ ที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน   3. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
ü 5. ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 5.1.2
ü 1. การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค 5.1.1
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC132 การบัญชีบริหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3)(4) ข้อ 3 (1) (3) - ทำแบบทดสอบกลางภาคบทที่ 1 – 4 - ทำแบบทดสอบปลายภาคบทที่ 6 - 9 9,17 40 40
2 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) (2) (3) (4) ข้อ 3 (1) (3) ข้อ 4 (1) (2) (3) (4) ข้อ 5 (2) - ประเมินจากการตรงต่อเวลาฯ - ประเมินจากงานที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20
เอกสารประกอบการสอน การบัญชีต้นทุน 2 โดย ผศ.สมบูรณ์ กุมาร
. Garrison, E.noreen และ P. Brewer. การบัญชีบริหาร ครั้งที่ 13. แปลโดย นวพร บุศยสุนทร และคณะ. กรุงเทพมหานคร: แมคกรอฮิล.
ไพบูลย์ ผจงวงศ์. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานครฯ: แสงดาว.
ศรีสุดา ธีระกาญจน์. การบัญชีเพื่อการจัดการ. กรุงเทพมหานครฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. ทฤษฎีและตัวอย่างโจทย์การบัญชีบริหาร. กรุงเทพมหานครฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอร์เนชั่นแนล เอ็นเตอร์ไพร์ส อิงค์
การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ 2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1 การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2 การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4 การประเมินข้อสอบ การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2 นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3 นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร