การเพิ่มผลผลิต

Productivity

1.1 เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและความสำคัญของการเพิ่มผลผลิต
1.2 เพื่อให้รู้จักองค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต ตลอดจนเทคนิคและเครื่องมือพื้นฐานในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิต
1.3 เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับปรุงงานเพื่อเพิ่มผลผลิต
1.4 เพื่อสร้างกิจนิสัยให้เป็นบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการพัฒนางานให้ก้าวหน้าและประสบความสำเร็จ
1.5 เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการปรับปรุงเพิ่มผลผลิต ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานต่อไป
1.1 เพื่อให้เข้าใจแนวคิดและความสำคัญของการเพิ่มผลผลิต
1.2 เพื่อให้รู้จักองค์ประกอบของการเพิ่มผลผลิต ตลอดจนเทคนิคและเครื่องมือพื้นฐานในการปรับปรุงเพื่อเพิ่มผลผลิต
1.3 เพื่อให้ตระหนักถึงความสำคัญของการปรับปรุงงานเพื่อเพิ่มผลผลิต
1.4 เพื่อสร้างกิจนิสัยให้เป็นบุคคลที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในการพัฒนางานให้ก้าวหน้าและประสบความสำเร็จ
1.5 เพื่อนำความรู้ที่ได้รับจากการปรับปรุงเพิ่มผลผลิต ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานต่อไป
ศึกษาความหมายและความสำคัญของการเพิ่มผลผลิต แนวคิดและวิวัฒนาการด้านการผลิต องค์ประกอบของการผลิต การวัดการเพิ่มผลผลิต เทคนิคและเครื่องมือพื้นฐานในการปรับปรุงการเพิ่มผลผลิตให้หน่วยงาน ผลที่ได้รับจากการเพิ่มผลผลิตทั้งต่อองค์กร พนักงานและภาพรวมในระดับประเทศ การนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานและในชีวิตประจำวัน รวมทั้งการหาแนวทางในการนำเครื่องมือคุณภาพไปปฏิบัติ เพื่อให้เกิดการพัฒนา โดยนำกรณีศึกษามาใช้ศึกษาประกอบ
To study the meaning and importance of productivity, the concept and evolution of productivity, elements of productivity measuring productivity gains. Techniques and tools used to improve the productivity. The result of increased productivity effect to organization, employees and the country. Taking knowledge to applied in practice and in everyday life, as well as finding ways and tools to perform quality contributes to development by using case studies.
 
อาจารย์ผู้สอนกำหนดวัน เวลาในการให้คำปรึกษา (Office Hour) ที่ห้องพักอาจารย์ หลักสูตรการจัดการ สัปดาห์ละ 6 ชั่วโมงและประกาศให้ผู้เรียนทราบ นอกจากนี้ยังได้กำหนดช่องทางให้นักศึกษาติดต่อผ่านทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ Facebook และ Line
(1) นักศึกษาต้องมีคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งทำประโยชน์ให้กับส่วนรวม
(2) นำความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาไปสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนาการจัดการความรู้ของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
(3) มีคุณธรรม จริยธรรมในการแสวงหาและถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้อื่น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีในการจัดการความรู้ในทางที่เหมาะสม
(4) มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ตรงต่อเวลาและมีวินัยในการเรียน
บรรยาย อภิปราย พร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาในประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
(1) บันทึกพฤติกรรมการเข้าเรียน
(2) สังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำงานกลุ่มและการนำเสนอ โดยผู้สอนอาจซักถามบางประเด็น
 
(1) แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดการความรู้ ได้แก่ ความหมาย ประเภท คุณลักษณะ ความสำคัญ ประโยชน์และวิวัฒนาการของการจัดการความรู้
(2) แนวคิด ทฤษฎี รูปแบบ และกระบวนการจัดการความรู้ รวมถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้และองค์การแห่งการเรียนรู้
(3) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้ กลยุทธ์การจัดการองค์ความรู้ และการจัดการความรู้ในองค์กรธุรกิจ
(4) บุคลากรที่เกี่ยวข้องในการจัดการความรู้และทรัพยากรมนุษย์ ระบบการจัดการความรู้ และการประเมินประสิทธิภาพของระบบจัดการความรู้
(5) การจัดการความรู้ในภาคอุตสาหกรรมและภาครัฐ
(1) การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการความรู้ และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการพัฒนาตนเองและองค์กร
(2) ศึกษาการเรียนรู้จากกรณีศึกษา เว็บไซต์ของหน่วยงาน คลิปวิดีโอตัวอย่างการจัดการความรู้ขององค์กรเอกชนและภาครัฐ โดยให้นักศึกษาจัดทำรายงานพร้อมนำเสนอ
(1) สังเกตจากการมีส่วนร่วมในการเรียน เช่น การนำเสนองาน การอภิปราย แสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม
(2) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(3) การสอบย่อยและการสอบปลายภาค
 
(1) สามารถสืบค้นข้อมูล หลักฐานจากแหล่งอ้างอิงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา และสามารถนำข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบ
(2) สามารถประยุกต์ความรู้ด้านการจัดการความรู้และด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
1) การสอนแบบการบรรยาย อภิปรายกลุ่ม
(2) การสอนโดยใช้กรณีศึกษา และแบบฝึกหัด
(1) การรายงานผลการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับการจัดการความรู้ของหน่วยงานต่างๆ โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
(2) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
(3) การสอบปลายภาค
(1) มีทักษะในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
(2) ปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นโดยแสดงความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) มีการแสดงความคิดสร้างสรรค์เพื่อพัฒนาการทำงานเกิดประสิทธิภาพ
(4) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และทำงานที่ได้รับมอบหมายได้เสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด
จัดกิจกรรมกลุ่ม เพื่อให้เกิดการประสานงานและการให้ความร่วมมือกันในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
(1) การรายงานหน้าชั้นเรียน
(2) การประเมินตนเองและประเมินเพื่อนในกลุ่ม
(3) สังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนในระหว่างที่ทำงานร่วมกัน
(1) ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม
(2) ทักษะในการวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลที่ศึกษาค้นคว้า
(3) ทักษะการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
(4) ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
(1) มอบหมายงานเป็นกลุ่ม โดยให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
(2) กำหนดให้มีการนำเสนอผลงานเชิงวิเคราะห์จากกรณีศึกษาหรืองานที่มอบหมาย ทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(1) ความถูกต้องและเหมาะสมของภาษาที่ใช้ในการสื่อสารทั้งด้วยวาจาและลายลักษณ์อักษร
(2) การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอที่เหมาะสม
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้อง 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2. มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 1. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน
1 BBABA221 การเพิ่มผลผลิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-4.2 5.1-8.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 35% 35%
2 3.4, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
3 5.2,5.3 งานที่ได้รับมอบหมายและการเก็บคะแนน 4,6,10,12 20%
กนกรัตน์ ดวงพิกุล. 2561. การเพิ่มผลผลิต. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุง), น่าน: ต้นฉบับการพิมพ์.
ประเทือง จุลวาทิน. 2556. การพัฒนางานด้วยระบบคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
http://www.uttvc.ac.th. (วันที่สืบค้นข้อมูล: 2 พฤศจิกายน 25561)
วรัญญา งามขำ. 2558. การเพิ่มผลผลิต. สุรินทร์: วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์.
ภวิต ยอดเพชร. 2557. การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สาขาการจัดการเทคโนโลยี คณะ
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
วิฑูรย์ สิมะโชคดี. 2555. การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนสำหรับผู้ประกอบการ SMEs. พิมพ์ครั้งที่ 3,
กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
- หนังสือพิมพ์ทางธุรกิจต่างๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ
- วารสาร นิตยสาร บทความเชิงวิเคราะห์หรืองานวิจัยทางธุรกิจและเว็ปไซต์ต่างๆ ทางธุรกิจ
- วารสาร Productivity World สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
- วารสารอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
- www.ftpi.or.th
- www.tqa.or.th
 
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
2.1 แบบฝึกหัด
2.2 รายงานการค้นคว้าต่างๆ ที่มอบหมาย
2.3 การนำเสนอผลงาน และการตอบคำถามของนักศึกษา
2.4 การเรียนของนักศึกษาในการสอบกลางภาคและสอบปลายภาค
3.1 จัดประชุมเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2 จัดทำวิจัยในชั้นเรียน
หลักสูตรมีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน
หลักสูตรมีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา พิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่เรียนในแต่ละภาคการศึกษา บัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพแล้ว ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชน ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของหลักสูตร การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอนหลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชาอาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอน กลยุทธ์ที่ใช้ในการสอน และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป