เขียนแบบพื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร

Foundation of Agricultural Machinery Drawing

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการเขียนแบบวิศวกรรม เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาการเขียนแบบพื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ด้านการเขียนแบบวิศวกรรม เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในวิชาการเขียนแบบพื้นฐานเครื่องจักรกลเกษตร เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือและตัวอักษรที่ใช้ในการเขียนแบบ รูปทรงเรขาคณิตประยุกต์ การเขียนแบบภาพฉาย ภาพสามมิติ การกำหนดขนาดและรายการประกอบแบบ และเทคนิคการร่างแบบ
สัปดาห์ละ 4 ชั่วโมง
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง 736 โทร 0891461553
3.2 E-mail; Noppadol2509@hotmail.com เวลา 20.00 - 22.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ การจัดการเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษารู้จักช่วยเหลือซึ่งกันและกัน รู้ผิดและรู้ชอบ

 

อภิปรายกลุ่มและฝึกปฏิบัติงานจริง โดยเน้นความถูกต้องตามหลักวิชาการและวิชาชีพ และรู้จักจรรยาบรรณในการทำงาน

บรรยายพร้อมยกตัวอย่างการอ้างอิงหนังสือที่นำมาใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ตลอดจนการคัดลอกงานคนอื่น มาเป็นของตนเอง ซึ่งเป็นสิ่งที่ผิดจรรยาบรรณ
 

ฝึกปฏิบัติการทดสอบสมรรถนะแทรกเตอร์และเครื่องทุ่นแรงฟาร์ม โดยให้นักศึกษาได้ปฏิบัติงานร่วมกัน บริการสังคม กำหนดเวลา ความรับผิดชอบ การทำงานตลอดจนรักษาสิ่งแวดล้อมในการทำงาน

 

บรรยายในห้องหรือปฏิบัติการในแปลง โดยเน้นสอนให้นักศึกษารู้จักการเคารพสิทธิ์ของเพื่อนร่วมงาน
พฤติกรรมการเข้าเรียน

- การตรงต่อเวลา
- - การมีน้ำใจต่อเพื่อนร่วมชั้น
เช่นการให้ยืมอุปกรณ์การ
เรียนขณะเรียน
 
 
 

ด้านจรรยาบรรณทางวิชาการ

หรือวิชาชีพ
- ไม่ลอกการบ้าน งาน
มอบหมาย หรือข้อสอบ
- งานมอบหมายจะต้อง
ค้นคว้ามาโดยมีการอ้างอิง
เอกสาร
 
 
 
 
 

ด้านวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม การฝึกปฏิบัติงานตามคำสั่ง ความตั้งใจใส่ในการเรียน การส่งงานตรงต่อเวลา ขณะเรียนและปฏิบัติงานใส่ใจเรื่องสิ่งแวดล้อม

 
 

ด้านการเคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ไม่แกล้ง ใส่ร้ายเพื่อน การเคารพการตัดสินใจ ที่เป็นมติของคนส่วนใหญ่ การแต่งกายถูกต้องเพื่อเคารพต่อสถาบัน และเพื่อนร่วมห้อง

ไม่แซงคิวหรือลำดับของเพื่อนร่วมห้อง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 
 
˜2.2 สามารถติดตามความ ก้าวหน้าทางวิชาการและเทค โนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
˜2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.1 บรรยายและฝึกปฏิบัติเพื่อให้นักศึกษได้มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
 
2.2 มอบหมายงานค้นคว้าเทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม่
2.3 ปฏิบัติการการใช้เครื่อง จักรกลเกษตรในการผลิตพืช
2.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
 
 
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
 
3.3 สังเกตพฤติกรรมจากการปฏิบัติงาน
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
 
 
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.1 การมอบให้นักศึกษาปฏิบัติงานในโรงเรือนปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์ พื้นที่จริง ตามหัวข้องานในแต่ละหน่วยเรียน และการนำเสนอผลงาน
3.2 อภิปรายกลุ่ม
3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
š4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.3 การนำเสนอรายงาน
4.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
˜5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
˜ 6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜ 6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š 6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติ
6.1 ฝึกปฏิบัติการ
 
6.2 มอบแบบฝึกหัด
6.1 สังเกตจากการปฏิบัติ
 
6.2 ประเมินจากการมอบหมายงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
จิราพงษ์ กาสิวิตาเมือง เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์ Engineering Drawing
ISBN978-974-03-1863-7
ชุมพล ศฤงคารศิริการ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพฯ ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), สนพ. สมาคม
นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพ ฯ สำนักพิมพ์เอมพันธ์ ISBN974-216-529-7 2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
ไม่มี 3. เอกสาร และข้อมูลแนะนำ
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
  1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
จิราพงษ์ กาสิวิตาเมือง เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณ์ Engineering Drawing
ISBN978-974-03-1863-7
ชุมพล ศฤงคารศิริการ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพฯ ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), สนพ. สมาคม
นริศ ศรีเมฆ เขียนแบบวิศวกรรม กรุงเทพ ฯ สำนักพิมพ์เอมพันธ์ ISBN974-216-529-7
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ