การบริหารธุรกิจภูมิทัศน์

Business Administration Landscape

เข้าใจความสำคัญและหลักการบริหารธุรกิจภูมิทัศน์ เข้าใจองค์กรและการจัดการ เข้าการตลาด เข้าใจการบัญชี


เข้าใจการบัญชี

6. เข้าใจเกี่ยวกับการเงินและการจัดเตรียมเอกสารทางภูมิทัศน์
-
ศึกษาความสำคัญของการบริหารธุรกิจ การนำหลักการบริหารและจัดการธุรกิจมาประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจภูมิทัศน์ ในด้านองค์กรและจัดการ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบริหารการผลิตและบริการ การลงทุน การควบคุม การบริหารตลาด การเงินการบัญชี และการจัดเตรียมเอกสารทางธุรกิจภูมิทัศน์
ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นกลุ่มและรายบุคคลตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ โดยนักศึกษาสามารถต่อผู้สอนเพื่อขอคำปรึกษาหรือแนะนำได้ในช่วงเวลาทำงาน ด้วยตนเองหรือโดยวิธีสื่อสารที่สะดวก ดังนี้
สถานที่ติดต่อผู้สอน: ห้องพักอาจารย์สาขาภูมิทัศน์
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ให้สัมฤทธิ์ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม
1. มีวินัย ขยันอดทน ตรงต่อเวลา และ รับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
2. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
3. มีจิตีสำนึกสาธารณะและตระนักในคุณค่าของคุณธรรมและจริยธรรม
4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน (แต่งกาย ตรงต่อเวลา มรรยาทในสังคม) ประเมินจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน(การอภิปรายผล การตอบคำถาม) ประเมินจากพฤติกรรมการนำเสนองานชิ้นงานที่ได้รับมอบหมาย(การเตรียมตัว ทักษะในการสื่อสาร)
ความรู้ที่ต้องได้รับ

ความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีเกี่ยวและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
วิธีการสอน
บรรยายเนื้อหาหลักตามจุดมุ่งหมายของรายวิชา ใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง
วิธีการประเมินผล สอบกลางภาค ปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการเหรอวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
วิธีการสอน
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลักของแต่ละวิชา
วิธีการประเมินผล

สอบแบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1.มีการทำกิจกรรมเป็นกลุ่มในหารทำงาน
วิธีการประเมินผล

ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา

สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาสม สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วิธีการสอน
          เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการบรรยายเนื้อหาหลัก โดยแสดงที่มาของทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆในเชิงวิเคราะห์ และเน้นให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในงาน กระตุ้นให้คิดตามหลักของเหตุและผล พยายามชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติ และใช้สื่อเชิงวัตถุบรรยายประกอบเพื่อให้เข้าใจง่าย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการค้นคว้าด้วยตนเอง มอบหมายงานให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนทักษะ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักการเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้อื่น ทักษะการใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกเนื้อหา หรือกิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรมในตนเองและวิชาชีพ โดย

กำหนดหัวข้อในการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ของรายวิชา แบบทดสอบย่อยในชั่วโมงเรียนหรือการบ้านในแต่ละหัวข้อ ใช้ความสามารถและเทคนิคถ่ายทอด อาทิ เรื่องเล่า ประสบการณ์ กรณีศึกษา ค้นคว้า เนื้อหาที่ได้รับมอบหมายเพื่อการนำเสนอ อภิปรายกลุ่ม บันทึกพฤติกรรมระหว่างการเรียน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ประเมินคุณภาพงานที่ได้รับมอบหมาย
ทักษะพิสัยต้องพัฒนา มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย

 
-
-
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 กิจกรรมที่ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1 การทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 70 % 2 ภาคปฏิบัติการ 20 % 3 จิตพิสัยความตั้งใจ การเข้าร่วมกิจกรรม 10 % รวม 100 %
1. ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ.2541.ธุรกิจทั่วไป: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ.กรุงเทพฯ.ธีระฟิล์มและไซเท็กช์.
2. ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ.2542.องค์การและการจัดการ.กรุงเทพฯ.ธีระฟิล์มและไซเท็กช์.
3. ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ.2542.การบริหารธุรกิจขนาดย่อม.พิมพ์ครั้งที่2.กรุงเทพฯ.ธีระฟิล์มและไซเท็กช์.
-
-
            การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เขียน การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนโดยนักศึกษาและแบบประเมินรายวิชา

ขอเสนอแนะผ่านสื่อสารสนเทศ
จำนวนหรือร้อยละของผู้เข้าเรียนแต่ละคาบ และการสังเกตพฤติกรรม คำถาม หรือแบบทดสอบ ผลการเรียนรู้ ทั้งห้าด้าน

       3.แบบประเมินผลการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทำการปรับปรุงการสอนทุกปีการศึกษา โดยพิจารณาจากผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน และผลประเมินการสอนและปัจจัยอื่นๆต่อไปนี้

ผลประเมินรายวิชาโดยผู้เรียน ผลประเมินการสอน และแบบสอบถามความสนใจในชั้นเรียน ประเด็นปัจจุบันหรือหัวข้อที่คัดสรรตามความสนใจ (Current issue & selected topics)

       3. การวิจัยชั้นเรียน ในประเด็นต่าง ๆ ทั้งในรายวิชานี้ และรายวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน (วิชาชีพบังคับอื่น ๆ และวิชาชีพเลือก) อาทิ ศิลป์ในการถ่ายทอดความรู้สื่อการสอน การนำความรู้ไปใช้ในรายวิชาอื่น ๆ ฯลฯ
การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา อาศัยทั้งปัจจัยภายในและภายนอกกระบวนการเรียนการสอน ทวนสอบทั้งกระบวนการ ผลลัพท์และผลสัมฤทธิ์เพื่อยืนยันว่า ผลประเมินประสิทธิผลของรายวิชาผลประเมินการสอนนั้นน่าเชื่อถือ การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา ดำเนินการทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนรายวิชาเช่น

ทวนสอบจากการประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน (ลักษณะนิสัย ได้แก่ การเข้าเรียน และการสังเกตพฤติกรรม) โดยผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ที่ได้เรียนผ่านไปแล้ว โดยผู้ร่วมสอนอื่นหรือผู้ร่วมรับผิดชอบรายวิชา (Cross & Link check) ผู้ร่วมสอนและร่วมรับผิดชอบรายวิชามีส่วนในการประเมินย่อยเช่น การออกข้อสอบร่วม และร่วมประเมินผลการเรียน

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรมเป็นต้น
การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยผู้สอน ดำเนินการทุกปีการศึกษา อาศัย กระบวนการในมคอ.1 มคอ.2 และมคอ.3 โดยเฉพาะผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา (ข้อ 1) ผลประเมินการสอน(ข้อ 2) การปรับปรุงการสอน (ข้อ 3) และการทวนสอบมาตรฐานผลสำฤทธิ์รายวิชาของนักศึกษา (ข้อ 4)

การทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาโดยหลักสูตร คณะ และระดับสถาบัน (มหาวิทยาลัย)สอดคล้องกับนโยบาย ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และการประกันคุณภาพ ฯ