การออกแบบวงจรดิจิทัลลอจิก

Digital Logic and Circuits Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจร คณิตศาสตร์ ส่วนประกอบของหน่วยความจำพื้นฐาน วิเคราะห์และสังเคราะห์ การตรวจสอบ ความถูกต้องการทำงานของวงจร แบบจำลองจุดเสีย และการทดสอบวงจรดิจิทัล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พิ้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจในวงจรดิจิทัลลอจิก เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการ เปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้มี ความก้าวหน้าไปเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ศึกษาเกี่ยวกับวงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจรคณิตศาสตร์ ส่วนประกอบของ หน่วยความจาพื้นฐาน วิเคราะห์และสังเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องการทำงานของวงจร แบบจำลอง จุดเสีย และการทดสอบวงจรดิจิทัล
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายเข้าพบ)
1.1.1 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างให้นักศึกษาเห็นความสาคัญของรายวิชาเพื่อการ ประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 1.2.2 มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 1.3.2 ประเมินผลจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย
ต้องได้รับความรู้เกี่ยวกับวงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจรคณิตศาสตร์ ส่วนประกอบของหน่วยความจำพื้นฐาน วิเคราะห์และสังเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องการทำงานของวงจร แบบจำลองจุดเสีย และการทดสอบวงจรดิจิทัล
บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษาและมอบหมายให้คน้ หาขอ้ มูลที่เกี่ยวขอ้ ง โดยนามาสรุปและนาเสนอ การศึกษาโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจและ การนำไปปะยุกต์ใช้งาน 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์ปัญหาจากสถานการณ์จริง
3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการ ใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยใหม่ๆ
3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ 3.2.2 อภิปรายกลุ่ม 3.2.3 เน้นให้นักศึกษาศึกษาจากตัวอย่างของจริง
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 ทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
 
4.1.2 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพ ในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
4.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learningและทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลขหรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 4.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
4.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 4.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวธิ ีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ 5. การวิเคราะห์เชิงตัวเลข 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 32122214 การออกแบบวงจรดิจิทัลลอจิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย คุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ ทดสอบย่อยคร้ังที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยคร้ังที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 17 10% 25% 10% 25%
3 ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค สอบปลายภาค การประเมินผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 8 17 ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
- Nelson, Victor P., Nagle, H. Troy, Irwin, J. David, Carroll, Bill D. Digital Logic Circuit Analysis and Design. USA : Prentice-Hall International, 1995. - สุวัฒน์ รอดผล, ดิจิตอลและการออกแบบวงจรลอจิก. กรุงเทพฯ : ส.ส.ท., 2537. - รศ.สมศักดิ์  มิตะถา, Advanced Digital System Design. กรุงเทพ : สจล.
ไม่มี
http://www.kmitl.ac.th/~ksjirasa/Lecture/AdvDigital.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา ไดจัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บเพจเฟสบุ๊ค ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับ นักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหว้งจากการเรียนรู้ในวิชา ได้การสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษารวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการใหัคะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธ์ิประสิทธิผลรายวิชา ไดม้ ีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารยผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นั้นๆกับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ