เนื้อและผลิตภัณฑ์

Meat and Meat Products

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสมบัติทางกายภาพ เคมี และสรีรวิทยาของเนื้อสัตว์
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในกระบวนการฆ่าสัตว์, การชำแหละ, การตกแต่ง, มาตรฐานโรงงาน และการกำจัดของเสีย
1.3 เพื่อให้ได้เรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภายหลังการฆ่าเช่น คุณภาพเนื้อสัตว์ การถนอมรักษา กรรมวิธีการแปรรูปเนื้อสัตว์แบบต่างๆและผลิตผลพลอยได้จากสัตว์
เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ การปรับปรุงของหลักสูตร และกระตุ้นให้นักศึกษามีการพัฒนาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
 
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้าง คุณสมบัติ และองประกอบของเนื้อสัตว์ การเตรีมสัตว์ก่อนฆ่า วิธีการฆ่า การจำแนกคุณภาพเนื้อ มาตรฐานโรงงานและอุปกรณ์ การกำจัดของเสีย การเก็บรักษาเนื้อ ผลิตภัณฑ์และการทำลิตภัณฑ์เนื้อที่นิยมในประเทศไทย
3.1 วัน.อังคาร 8:00 – 10:00 น.
3.2 วัน ศุกร์ 8:00 – 11:00 น.
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา (Ethics and Moral)
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่า ของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
š1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความ เป็นมนุษย์
 
 
1. การเรียนแบบค้นพบ (Discovery Learning)
. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
3. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
5. การสอนโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think-Pair-Share)
6. การสอนฝึกปฏิบัติการ
7. การสอนโดยใช้เกม (Games
8. การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies)
 
 
1.การเขียนบันทึก
2.การสังเกต
3.การสัมภาษณ์
4.การส่งรายงาน
 
 
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและ หลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ และเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills)
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทาง ด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่าง มีระบบ
 
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
4. การนำเสนองาน
5. รายงานบทปฏิบัติการ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility)
˜4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไข ข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือ สังคม ในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
 
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
 
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่ เหมาะสม
š5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการ สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยวิธีโปสเตอร์ และวาจา
1. การนำเสนองาน
2. การสังเกต
3. การตอบคำถาม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
1 23024311 เนื้อและผลิตภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
นคร สานิชวรรณ . 2553. เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์. สาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. คณะเกษตรศาสตร์. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
สัญชัย จตุรสิธทา .2547. การจัดการเนื้อสัตว์พิมพ์ครั้งที่ 3 . โรงพิมพ์มิ่งเมือง. เชียงใหม่. FAO .1991. Guidelines for slaughtering, meat cutting and further processing. Rome. FAO and WHO . 1993. CODEX ALIMENTARIUS VOLUME TEN: Meat and meat products. including soups and broths. Rome
สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์. 2548. คู่มือปฎิบัติงานในโรงงานผลิตภัณฑ์ เนื้อ สุกร . พิมพ์ครั้งที่ 1. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด . กรุงเทพฯ สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ . 2548. คู่มือการจัดการสิ่งแวดล้อมสําหรับโรงฆ่าสุกร. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด . กรงเทพฯ สุวิมล กีระติพิมล. 2543. GMP ระบบการจัดการและควบคุมการผลิตอาหาร สํานักพิมพ์ส.ส.ท. : กรุงเทพฯ

 
: ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรม ทั้งในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการ เรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้ง โดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา...
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการ ประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนด ทุกสาขา การศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์ การสอน/ การวิจัยในชั้น เรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหาทำวิจัยในชั้นเรียน อย่างน้อย สาขาการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชา เพื่อหารือปัญหา การเรียนรู้ของ นักศึกษา และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
: สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา ในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบ และระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบ ของสาขาวิชา ภายในกรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมิน การสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอน รับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการ ปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนา ปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป