การเตรียมโครงงานครุศาสตร์อุตสาหกรรมโยธา

Civil Technical Education Pre-Project

รู้ความหมายหลักการ และลักษณะของโครงการ เข้าใจคุณลักษณะของโครงงาน เข้าใจหลักการเขียนโครงงาน ตระหนักในความสำคัญของการทำโครงงาน มีเจตคติที่ดีต่อการทำโครงการ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในการเป็นครูช่างที่ดี  และมีคุณลักษณะของครูที่ดีเช่น การเป็นครูที่มีวินัย อดทน  ตรงต่อเวลา  มีความรับผิดชอบที่ดีต่อตนเอง  สังคมและสิ่งแวดล้อม   มีจิตสำนึก  ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม  จริยธรรม  ตลอดจนมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพครู
ปฏิบัติการเกี่ยวกับการศึกษาค้นคว้าบทความ  งานวิจัย  สิ่งประดิษฐ์  นวัตกรรม  ทางด้านการศึกษาหรือด้านวิศวกรรมโยธา   การตั้งชื่อโครงงาน  วิธีการเขียนรายงาน    ความเป็นมาของปัญหา  วัตถุประสงค์  ขอบเขต  ขั้นตอนและแผนการดำเนินงาน  การจัดเตรียมวัสดุและอุปกรณ์   การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล  การรายงานความก้าวหน้า  และการนำเสนอโครงงาน
สอนเสริมตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
1.1  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2  วิธีการสอน
สอดแทรกระหว่างการเรียนการสอนในทุกครั้ง
วิเคราะห์แบบวิภาษวิธี (Dialectics) แสดงความคิดเห็นในเรื่องความมีวินัย ใฝ่รู้ ความซื่อสัตย์ ความรับผิดชอบ และความมีน้ำใจ
ปฏิบัติตนอันเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์ผู้สอน
.3  วิธีการประเมิน
วัดและประเมินผลการวิเคราะห์แบบวิภาษวิธี จากพฤติกรรมในชั้นเรียน และนอกชั้นเรียน
2.1  ความรู้ที่จะได้รับ

มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา        สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย การอภิปราย การทำรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน การค้นคว้าด้วยตนเอง การวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้และการเรียนรู้แบบสืบสอบ (Inquiry method) รวมทั้งเชิญวิทยากรมาบรรยาย
วัดและประเมินจากผลการวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้ ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การอภิปราย การทำรายงาน การค้นคว้า และการสอบกลางภาคและปลายภาค   
ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา

มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
วิเคราะห์แบบวิภาษวิธีเกี่ยวกับประเด็นวิกฤตทางวิชาการ วิชาชีพ ใช้กระบวนการกลุ่มในการอภิปราย สะท้อนความคิด การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ การทำแฟ้มวิเคราะห์ข่าวตลอดภาคการศึกษา
ประเมินจากการแสดงความคิดเห็นและการอภิปราย รายงานรายบุคคลและรายงานกลุ่ม และนำเสนอหน้าชั้นเรียนและจัดส่งผลการวิเคราะห์ข่าวทุกสัปดาห์
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม

มีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้เรียน มีความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ ความร่วมมืออย่างสร้างสรรค์
ทำกิจกรรมกลุ่มในลักษณะต่างๆ ทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
วัดและประเมินจากผลการเรียนแบบร่วมมือประเมินจากความรับผิดชอบในการปฏิบัติกิจกรรมในชั้นเรียน และประเมินจากผลการทำกิจกรรมกลุ่มและการทำรายงาน
5.1  ทักษะการวิเคราะห์ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
                2.5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 
                2.5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
ใช้ภาษาพูด ภาษาเขียน ในการสื่อสาร ใช้คอมพิวเตอร์/อินเตอร์เน็ตในการสืบค้น วิเคราะห์และจัดการ สืบค้น ข้อมูลอย่างเป็นระบบและถ่ายทอดสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ การรายงานโดยใช้เทคโนโลยี
การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร และอินเตอร์เน็ต
     วัดและประเมินจากผลการติดตามวิเคราะห์ และนำเสนอรายงาน
      การใช้เทคโนโลยีในการรายงาน
มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนโดยใช้ power point ประกอบการบรรยาย การทำรายงานโดยค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร และอินเตอร์เน็ต
     วัดและประเมินจากผลการติดตามวิเคราะห์ และนำเสนอรายงาน
      การใช้เทคโนโลยีในการรายงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย การสังเกตูและจดบันทึกพฤติกรรม ตลอดภาคเรียน การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย
การเขียนโครงงาน
การนำเสนอโครงงาน
สถิติในการทำโครงงาน
เอกสารประกอบการสอนวิชาการเตรียมโครงงาน
การนำเสนองานวิจัย
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ