สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
Environment and Development
1.1 จำแนกลักษณะและความความสำคัญของสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
1.2 นำความรู้ทางด้านนิเวศวิทยามาอธิบายสิ่งแวดล้อมที่สมดุลและยั่งยืนได้ได้
1.3 อธิบายความสัมพันธ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
1.4 นำความรู้ด้านคุณภาพชีวิตมาวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม และปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันได้
1.5 วิเคราะห์ระบบและประเมินผลกระทบของสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นได้
1.6 มีค่านิยมที่ดี เห็นคุณค่าความสัมพันธ์ของจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
1.2 นำความรู้ทางด้านนิเวศวิทยามาอธิบายสิ่งแวดล้อมที่สมดุลและยั่งยืนได้ได้
1.3 อธิบายความสัมพันธ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
1.4 นำความรู้ด้านคุณภาพชีวิตมาวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม และปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันได้
1.5 วิเคราะห์ระบบและประเมินผลกระทบของสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นได้
1.6 มีค่านิยมที่ดี เห็นคุณค่าความสัมพันธ์ของจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ความเข้าใจในด้านสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียน ในวิชาที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มความก้าวหน้า วิชาการใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ในยุคปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
อภิปรายกลุ่ม กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่มต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิก
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย เน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย มีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ในรายวิชา รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เช่น ยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ประโยชน์แก่ส่วนรวม
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
ประเมินผลจากการทำงานเป็นกลุ่ม ความสัมพันธ์ในกลุ่ม
ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ประเมินผลจากการสอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การสอนภาคบรรยายมีการใช้ตัวอย่างที่เหมะสม
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์
อภิปรายกลุ่ม การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
เปิดโอกาสให้นักศึกษาซักถาม เพื่อแสดงความคิดเห็นระหว่างผู้สอนกับนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับนักศึกษาในชั้นเรียน
สอบกลางภาคและปลายภาค
วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน
สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
จัดกิจกรรมกลุ่มในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์กับชีวิต
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
การนำเสนอรายงาน
การนำเสนอรายงาน
ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ความรู้ (2.1) | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 8 และ 15 | ุ60 คะแนน |
2 | 3.1 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 30 คะแนน |
3 | 1.2 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 คะแนน |
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2540.
เกษม จันทร์แก้ว. การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. ณรงค์ ณ เชียงใหม่. มลพิษสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2525. นิตยา เลาหะจินดา. นิเวศวิทยา. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์ , 2528. นิวัติ เรืองพานิชย. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. สามัคคี บุณยะวัฒน์. สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542. สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์. หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน.สำนักพิมพ์ส.ส.ท., 2550 อำนาจ เจริญศิลป์. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. โอ เอส พรินติ้ง เฮ้าส์, 2543. Michael L.McKinney and Robert M.Schoch. Environmental Science Systems and Soloutions. Massachusettes : Jones and Bartlett Publishers, 1998. http://www.tei.or.th/ http://www.onep.go.th/ http://www.deqp.go.th/ http://www.school.net.th/library/snet6/index.html http://www.mnre.go.th/
2540.
เกษม จันทร์แก้ว. การจัดการสิ่งแวดล้อมแบบผสมผสาน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545. ณรงค์ ณ เชียงใหม่. มลพิษสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2525. นิตยา เลาหะจินดา. นิเวศวิทยา. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ์ , 2528. นิวัติ เรืองพานิชย. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2546. สามัคคี บุณยะวัฒน์. สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2542. สุกาญจน์ รัตนเลิศนุสรณ์. หลักการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบยั่งยืน.สำนักพิมพ์ส.ส.ท., 2550 อำนาจ เจริญศิลป์. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. โอ เอส พรินติ้ง เฮ้าส์, 2543. Michael L.McKinney and Robert M.Schoch. Environmental Science Systems and Soloutions. Massachusettes : Jones and Bartlett Publishers, 1998. http://www.tei.or.th/ http://www.onep.go.th/ http://www.deqp.go.th/ http://www.school.net.th/library/snet6/index.html http://www.mnre.go.th/
เอกสารการวิเคราะห์ระบบและการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาแก่งเสือเต้น
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดหรือ E-mail ที่อาจารย์
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ดหรือ E-mail ที่อาจารย์
2.1 การสังเกตการณ์สอนของอาจารย์ผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
การจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 มีการให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 มีการพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมิน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
4.2 มีการให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนส่งเกรด
4.3 มีการพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษาในรายวิชาเดียวกันของแต่ละกลุ่มกับผลการประเมิน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ