การเผาไหม้
Combustion
1.1 วิเคราะห์การเผาไหม้แบบต่าง ๆ
1.2 วิเคราะห์อุณหภูมิและพลังงานที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้
1.3 คำนวณหาสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง
1.4 เข้าใจหลักการของเตาเผาแก๊สและน้ำมัน
1.5 ศึกษาเปลวไฟชนิดผสมมาก่อนและชนิดแพร่ (การฟุ้งกระจาย)
1.6 ศึกษาเปลวไฟแบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน
1.7 เข้าใจการควบคุมมลพิษที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้
1.2 วิเคราะห์อุณหภูมิและพลังงานที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้
1.3 คำนวณหาสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง
1.4 เข้าใจหลักการของเตาเผาแก๊สและน้ำมัน
1.5 ศึกษาเปลวไฟชนิดผสมมาก่อนและชนิดแพร่ (การฟุ้งกระจาย)
1.6 ศึกษาเปลวไฟแบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน
1.7 เข้าใจการควบคุมมลพิษที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้
เพื่อปรับปรุงรายวิชาให้มีความทันสมัยสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน
ศึกษาการวิเคราะห์การเผาไหม้สมบูรณ์ การวิเคราะห์อุณหภูมิและพลังงาน คุณสมบัติทางกายภาพของเชื้อเพลิง เตาเผาแก๊สและน้ำมัน เปลวไฟแบบราบเรียบและแบบปั่นป่วน โครงสร้างเปลวไฟแบบปั่นป่วน เปลวไฟแบบผสมก่อนและการฟุ้งกระจาย ความเสถียรภาพของเปลวไฟ การควบคุมมลภาวะจากการเผาไหม้
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม (3.1.4)
1. กวดขันการเข้าห้องเรียน และพฤติกรรมในห้องเรียนของนักศึกษา
2. มอบหมายงาน โดยมีการกำหนดเวลาส่งงานที่ชัดเจน
1.พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
2.มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
3.ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย
1.มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม (3.2.2)
2.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง(3.2.3)
3.สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น(3.2.4)
4.สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ (3.2.5)
2.สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง(3.2.3)
3.สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น(3.2.4)
4.สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาของตน ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ (3.2.5)
1.บรรยายหลักการและทฤษฎี พร้อมทั้งยกตัวอย่างการคำนวณและการประยุกต์ใช้จริง
2.มอบหมายงาน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
2.มอบหมายงาน เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
1.สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.การบ้าน
2.การบ้าน
1.สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ(3.3.2)
2.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ(3.3.3)
2.สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ(3.3.3)
1.บรรยายหลักการและทฤษฎี พร้อมทั้งยกตัวอย่างการคำนวณและการประยุกต์ใช้จริง
2.มอบหมายงาน เพื่อตรวจสอบกระบวนการคิด-วิเคราะห์
2.มอบหมายงาน เพื่อตรวจสอบกระบวนการคิด-วิเคราะห์
1.สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้งาน
2.การบ้าน
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
2.การบ้าน
3.สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1.สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆ (3.4.2)
2.มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (3.4.2)
2.มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม (3.4.2)
1.มอบหมายงานรายบุคคล เช่น อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
2.การถาม-ตอบในระหว่างเรียน
2.การถาม-ตอบในระหว่างเรียน
1.ประเมินจากงานและพฤติกรรมการทำงานในระหว่างเรียน
2.ประเมินจากงานที่มีการศึกษาด้วยตนเอง
2.ประเมินจากงานที่มีการศึกษาด้วยตนเอง
1.มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์ (3.5.2)
2.สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ (3.5.5)
2.สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิชาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้ (3.5.5)
1.บรรยายหลักการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยงข้องกับการแก้ปัญหาในวิชาพลศาสตร์
2.มอบหมายงาน
2.มอบหมายงาน
1.การบ้าน
2.การสอบกลางภาคและปลายภาค
2.การสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1.คุณธรรม จริยธรรม | 2. ความรู้ | 3.ทักษะทางปัญญา | 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | ||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 1 | 2 | 3 | 4 | 5 |
1 | 31073430 | การเผาไหม้ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1.สอบกลางภาค 2.สอบปลายภาค 3.สอบย่อย | 1. 8 2. 16 3. 10 | 1. 30% 2. 30% 3. 20% | |
2 | การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % | |
3 | การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน | ตลอดภาคการศึกษา | 10 % |
1.พื้นฐานการสันดาป, กุลยา กนกจารุวิจิตร, 2558, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 403 หน้า
2.การเผาไหม้และการควบคุมมลพิษ, สมรัฐ เกิดสุวรณ, 2549, บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, 380 หน้า
2.การเผาไหม้และการควบคุมมลพิษ, สมรัฐ เกิดสุวรณ, 2549, บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด, 380 หน้า
ไม่มี
1.Fundamentals and technology of Combustion , Fawzy El-mahallawy, 2002
2.การเผาไหม้, สำเริง จักรใจ, 2547, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 690 หน้า
3.introduction to combustion: Concepts and applications, Stephen R. Turns, 2000, McGraw-Hill, 565 p.
2.การเผาไหม้, สำเริง จักรใจ, 2547, สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 690 หน้า
3.introduction to combustion: Concepts and applications, Stephen R. Turns, 2000, McGraw-Hill, 565 p.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
3.ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
3.ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
1.ประเมินจากแบบประเมินรายวิชา และแบบประเมินผู้ สอน
2.ประเมินจากผลการสอบและการเรียนรู้ของนักศึกษา
2.ประเมินจากผลการสอบและการเรียนรู้ของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
1.สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
1.สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2.การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ