คอมพิวเตอร์เพื่องานทัศนศิลป์

Computer Assisted Visual Art

1.  รู้ความเป็นมาของการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์
2.  เข้าใจแนวคิดจากการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์
3.  มีทักษะในการสร้างสรรค์งานศิลปะด้วยคอมพิวเตอร์ร่วมกับการ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องเพื่อการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์และปฏิบัติตามหัวข้อที่กาหนด โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของผู้อื่นและเพื่อนในชั้นเรียน   มีความซื่อสัตย์ในการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงาน โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เพื่องานทัศนศิลป์ที่สำคัญทั้งในไทยและต่างประเทศ แนะนำให้ศึกษาและพัฒนานำเอาข้อดีของผลงานเพื่อนำมาปรับปรุงในผลงานให้ดีขึ้น ต้องไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน นำผลงานของผู้อื่นมาศึกษาปรับปรุงต้องอ้างอิงถึงทุกครั้ง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา
1.3.2   ตั้งใจในการศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยความสนใจ
1.3.3   ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
 มีความรู้ในหลักการและมีทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
บรรยายบรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานและนำเสนอก่อนการปฏิบัติงาน   ลงมือฝึกปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นความเข้าใจในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ และหลักการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่ ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีความรู้และความเข้าใจในหลักการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่  และมีความคิดสร้างสรรค์  
สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะสมัยใหม่
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในกระบวนการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์หลักการในการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่
3.3.2   ประเมินจากผลงานที่ฝึกปฏิบัติทุกครั้งว่ามีทักษะในการคิดสร้างสรรค์ และการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกัน
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2  มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี  หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง 
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.4   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งงานทางอีเมล์ 
5.1.5   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานเพื่อศึกษาการสร้างสรรค์ผลสื่อศิลปะสมัยใหม่ของศิลปินดังเพื่อวิเคราะห์และนำเสนอเป็นตัวอย่างเพื่อการศึกษา
5.2.2   นำเสนอผลงานในรูปแบบที่ต้องการตามความเหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และงานที่เสร็จสมบูรณ์
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA109 คอมพิวเตอร์เพื่องานทัศนศิลป์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-17 ตรวจผลงานภาคการปฏิบัติขั้นสำเร็จตามหัวข้อที่กำหนด การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การส่งงานตามที่มอบหมาย สอบปฏิบัติ ตลอดภาคการศึกษา 70%
2 1-17 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8/17 20%
3 1-17 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
Essential Photoshop CS6 ตกแต่งภาพและสร้างงานกราฟิก, อิศเรศ ภาชนะกาญจน์, 
          บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2556
Graphic Design Principle, ปาพจน์ หนุนภักดี, Digi Art Infopress Graphic book 
          บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 2 : 2555
คู่มือ Illustrator CS Professional Guide ฉบับสมบูรณ์ม วสันต์ พึ่งพูลผล, Digi Art Infopress  
          Graphic book บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จำกัด, 2554
ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์, Computer Graphics : สำหรับนักออกแบบ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  
          2542.
ปาพจน์ หนุนภักดี, หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิกดีไซน์. นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2553.
ปิยะบุตร สุทธิดารา และอนัน วาโซะ. (2553). เรียนรู้การทางานกราฟิกดีไซน์สิ่งพิมพ์แบบมืออาชีพ
          (Graphic Design Artwork Photoshop + Illustrator). นนทบุรี: ไอดีซี พรีเมียร์.วรพงศ์      
          วรชาติ อุดมพงศ์. (2535). ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ศิลปาบรรณาคาร.
Foley J. D., Dam, A. V., Feiner S. K., and Hughes J. F., ADOBE PHOTOSHOP CS5
          CLASSROOM IN A BOOK, Addison-Wesley Publishing Company, Inc., 1993.
Jennifer Smith, Jeremy Osborn, and AGI Creative Team., Adobe Creative Suite 5 
          Design Premium Digital Classroom, Wiley Publishing, Inc.
อดิศักดิ์ คงสัตย์. Adobe InDeSign Professionnal ฉบับ Tips&Techniques. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2553.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือ อุตสาหกรรมต่าง ๆ