ศิลปะเปรียบเทียบ

Comparative Arts

 รู้หลักการและคุณค่าในศิลปะสาขาทัศนศิลป์ตลอดจนความหมายและรูปลักษณ์ ในศิลปะทุกรูปแบบ เข้าใจในความงามและทฤษฎีในสาขาทัศนศิลป์และสามารถนำมาเปรียบเทียบ เพื่อให้รู้และเข้าใจถึงความหมายถึงข้อแตกต่างได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง สามารถอภิปรายและวางแผนประเมินค่าตลอดจนการวิเคราะห์ ประเมินผลในผลงานที่แตกต่างกัน เห็นความสำคัญและรู้คุณค่าในทัศนศิลป์กับศิลปะในสาขาอื่นๆ โดยเน้นวิธีคิด และรูปแบบการแสดงออกของคุณค่าทางสุนทรียภาพ
ศึกษาลักษณะเฉพาะและเปรียบเทียบความใกล้เคียงทางอิทธิพลจากกผลงาน ตลอดจนความแตกต่างระหว่างศิลปะ ที่จัดอยู่ในทัศนศิลป์ด้วยกัน และศิลปะประเภททัศนศิลป์กับศิลปะสาขาอื่น โดยเน้นความคิด รูปแบบ การแสดงออก และคุณค่าทางสุนทรียภาพ
ตระหนักในคุณค่าของผลงานศิลปะและคุณธรรม จริยธรรม ความเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีความเป็นนักวิชาการมีความรู้ทางทฤษฏีและการอ้างอิงเพื่อการนำไปวิเคราะห์วิจัยในการสร้างสรรค์ส่วนตัวในศิลปนิพนธ์ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ของสถาบันหรือองค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์วิจัยเปรียบเทียบเพื่อไปประยุกต์ใช้ในการอ้างอิงการสร้างสรรค์ส่วนตัวภาคศิลปนิพนธ์ เห็นคุณค่าของผลงานศิลปะทุกสาขา รับผิดชอบในการเรียน การมีระเบียบวินัย และตรงต่อเวลา
บรรยายด้วย สื่ออิเล็กทรอนิคส์ อภิปราย ซักถาม เชิญผู้เชี่ยวชาญ หรือนำนักศึกษาไปดูงานจาก อาจารย์ผู้ชำนาญเฉพาะทางหรือศิลปิน ชมการแสดงผลงานศิลปะจากสาขาต่างๆที่เกี่ยวข้อง
1.3.1   การเข้าชั้นเรียน เข้ารับชมและรับฟังการแสดง
1.3.2   ตรวจผลงานค้นคว้า รายงาน และการนำเสนอ
        รู้ทฤษฎีเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงานศิลปะสาขาต่างๆ
 
บรรยายบรรยายทฤษฏีด้วยสื่ออิเล็กทรอนิคส์หรือสื่อต่างๆที่สามารถนำมาทดแทนได้
         อภิปราย ซักถาม ค้นคว้ารายงานและศึกษาเพิ่มเติม
เชิญผู้เชี่ยวชาญ หรือนำนักศึกษาไปฟังการบรรยายจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ไปชมการแสดงผลงานศิลปะประเภทต่างๆ
ตรวจเอกสารค้นคว้ารายงาน การส่งงานที่มอบหมาย และจากกานนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนของนักศึกษา
พัฒนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานศิลปะในต่างสาขา ความงาม ความเหมือนและความแตกต่าง
บรรยายบรรยายทฤษฏีด้วยสื่ออิเล็กทรอนิคส์ อภิปราย ซักถาม ค้นคว้ารายงานและศึกษาเพิ่มเติม
      เชิญผู้เชี่ยวชาญ หรือนำนักศึกษาไปฟังการบรรยายจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
     ไปชมการแสดงผลงานศิลปะประเภทต่างๆ
ตรวจเอกสารค้นคว้ารายงาน การส่งงานที่มอบหมาย และจากกานนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนของนักศึกษา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   อภิปราย ซักถามระหว่างบรรยายเพื่อเน้นความเข้าใจ
4.2.2  ศึกษานอกเวลาและค้นคว้ารายงานเพื่อการนำเสนอในชั้นเรียนต่อไป ตามอาจารย์ผู้สอนสั่ง
4.3.1   ตรวจเอกสารค้นคว้ารายงาน 
4.3.2   จากการส่งงานที่มอบหมาย 
4.3.3   จากการนำเสนอรายงานหน้าชั้นเรียนของนักศึกษา
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสืบค้นคว้าจากงานศิลปกรรมของจริงและข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.2.1   อภิปราย ซักถามระหว่างบรรยายเพื่อเน้นความเข้าใจ
5.2.2   นักศึกษาทุกคนต้องดูผลงานศิลปะ เพื่อฝึกการดูอย่างเข้าใจและวิเคราะห์ผลงานศิลปกรรม
          ของจริง (ไม่ใช่แค่จากภาพถ่ายหรือวีดีทัศน์)
            5.2.3   ศึกษานอกเวลาค้นและคว้ารายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 5
1 41000021 ศิลปะเปรียบเทียบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-17 งานนำเสนอหน้าชั้นเรียน รายงานชิ้นที่ 1 รายงานชิ้นที่ 2 รายงานชิ้นที่ 3 1-9 20%
2 1-19 นำเสนองานค้นคว้า (งานกลุ่ม) 10-11 10%
3 1-17 งานค้นคว้าและงานนำเสนอ 12-14 10%
4 1-17 งานค้นคว้าและรายงาน 15-16 10%
5 1-15 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9/17 40%
6 1-17 จิตพิสัย 1-17 10%
ศิลปะสมัยใหม่.ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก.ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตกสมัยกลาง.ประวัติจิตรกรรม.ทฤษฏีจิตรกรรม.มนุษย์กับความงาม.พจนานุกรมศัพท์ศิลปะอังกฤษ-ไทย.หลักการทัศนศิลป์
THE HISTORY OF WORLD PAINTING. ABSTRACT EXPRESSIONISM.  ART THROUGH THE AGES.  20 CENTURY ART.  MODERN ART FORM.  LIVING WITH ART.  ART IN OUR TIME 
แบบทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน
 
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ความพึงพอใจในการทดสอบแบบฝึกหัดทดสอบแต่ละหน่วยเรียน 
2.1   การสังเกตการณ์สอน
 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทบทวนบทเรียนและความเข้าใจในประวัติจิตรกรรมแต่ละยุคสมัย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัย ค้นคว้ารายงานเพื่อประกอบการเรียนรู้ในการพัฒนานักศึกษา
4.1  การให้คะแนนจากการตรวจแบบฝึกหัดทดสอบก่อนเรียน หลังเรียน และค้นคว้ารายงาน
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ