ธุรกิจปศุสัตว์
Livestock Business
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 ศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับหลักและความหมายของการจัดการธุรกิจปศุสัตว์ องค์ประกอบการจัดการและการบริหารงานฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ การจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต การบันทึกบัญชีฟาร์มและการแสดงความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
1.2 เข้าใจการจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต รวมทั้งการบันทึกบัญชีฟาร์ม
1.3 เข้าใจและวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
1.1 ศึกษาเรียนรู้และปฏิบัติเกี่ยวกับหลักและความหมายของการจัดการธุรกิจปศุสัตว์ องค์ประกอบการจัดการและการบริหารงานฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ การจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต การบันทึกบัญชีฟาร์มและการแสดงความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
1.2 เข้าใจการจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต รวมทั้งการบันทึกบัญชีฟาร์ม
1.3 เข้าใจและวิเคราะห์ความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
เพิ่มเนื้อหาที่ทันสมัยในทางธุรกิจมากขึ้น และปรับปรุงในกระบวนการที่จะให้นักศึกษาเกิดการเรียนรู้แบบ Child Center มากขึ้น หลังจากจบการเรียนการสอนให้มีการจัดทำโครงการนำเสนอทางธุรกิจที่สนใจมา 1 โครงการ และเพื่อเป็นการทวนสอบนักศึกษาถึงความเข้าใจและนำไปใช้ได้จริง
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักและความหมายของการจัดการธุรกิจปศุสัตว์ องค์ประกอบการจัดการและการบริหารงานฟาร์มให้มีประสิทธิภาพ การจัดวางแผนการดำเนินงานฟาร์ม เครดิตและการขอเครดิต การวิเคราะห์ข้อมูลประสิทธิภาพการผลิต การบันทึกบัญชีฟาร์มและการแสดงความเคลื่อนไหวของกิจการ การตลาด แนวโน้มของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์
- จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) โดยเฉพาะในวันพุธ เวลา 15.00 – 16.00 น. ณ ห้องปฏิบัตืการกายวิภาคและสรีรวิยาของสัตว์เลี้ยง เบอร์มือถือ 08-9953-2245
- นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : wchaine@yahoo.com
- นักศึกษาสามารถติดต่อได้ทาง e-mail address : wchaine@yahoo.com
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบบรรยาย
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning)
3. การสอนแบบบรรยาย
1. การฝึกตีความ
2. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3. การประเมินตนเอง
2. แบบทดสอบวัดด้านการปฏิบัติ
3. การประเมินตนเอง
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
2. การสอนแบบบรรยายและเชิงอภิปราย
2. การสอนแบบบรรยายและเชิงอภิปราย
1. การนำเสนองาน
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
2. ข้อสอบอัตนัย
3. ข้อสอบปรนัย
1. มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1.การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
2.การสอนแบบ Brain Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
2.การสอนแบบ Brain Storming Group
3.การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
2.การนำเสนองาน
3. ประเมินจากการแสดงความคิดเห็น
4.ข้อสอบอัตนัย
5. ข้อสอบปรนัย
1. มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับผู้อื่น
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
3. จัดกิจกรรมเสริมในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียนที่นักศึกษามีโอกาสปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
4.มอบหมายงานกลุ่มและมีการเปลี่ยนกลุ่มทำงานตามกิจกรรมที่มอบหมาย เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้ร่วมกับผู้อื่น
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
2. การนำเสนองาน
3. การประเมินโดยเพื่อน
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process) และแนะนำการสืบค้นด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.ใช้ Power point และมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมด้วย
2.ใช้ Power point และมีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตร่วมด้วย
1.โครงการกลุ่มและรายงานกลุ่ม
2. การนำเสนองานรายงาน
2. การนำเสนองานรายงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) | 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) | 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) | 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) | 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม | 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ | 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม | 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา | 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง | 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ | 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ | 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี | 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ | 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม | 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม | 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม | 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม | 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
1 | 23024320 | ธุรกิจปศุสัตว์ |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | 1-4 5-8 | สอบกลางภาค สอบปลายภาค | 9 18 | 25% 35% |
2 | 1-8 | วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย | ตลอดภาคการศึกษา | 40% |
1.1 หนังสือการจัดการฟาร์ม
1.2 หนังสือการลงทุนและการบัญชี
1.2 หนังสือการลงทุนและการบัญชี
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชาผ่านระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
2.1 การประเมินการสอนจากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา มีการประชุมอาจารย์เพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์หรือผู้ทรงคุณวุฒิ
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการเรียนของนักศึกษา ผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป