ไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส

Microprocessor and Interface

1.1 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเรื่องไมโครโปรเซสเซอร์เบื้องต้น สถาปัตยกรรมภายในของ ไมโครโปรเซสเซอร์ 
1.2 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเรื่องภาษาเครื่อง ชุดคําสั่ง การเขียนโปรแกรม ภาษาแอสเซมบลี 
1.3 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาฮาร์ดแวร์ของระบบไมโครโปรเซสเซอร์ 
1.4 เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาหน่วยประมวลผลกลาง รีจิสเตอร์ แฟลก แอดเดรสซิงโหมด หน่วยความจํา หน่วย อินพุทและการเชื่อมต่อ 
1.5 เพื่อให้นักศึกษาฝึกการการเขียนภาษาซีสําหรับไมโครโปรเซสเซอร์
1.6 เพื่อให้นักศึกษารู้จักการประยุกต์ใช้งานไมโครโปรเซสเซอร์
มีการปรับปรุงเนื้อหาวิชาเพิ่มเติมกับมาตรฐานวิชาชีพ ให้นักศึกษาได้เข้าใจและเกิดการเรียนรู้ในรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม ชุดคำสั่ง การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี การแปลงภาษาแอสแซมบี้เป็นภาษาเครื่อง การตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม ฮาร์ดแวร์ของระบบไมโครโปรเซสเซอร์ การเชื่อมต่อกับภาษาระดับสูง การประยุกต์ใช้ไมโครโปรเซสเซอร์ในการเชื่อมต่อและควบคุมอุปกรณ์ภายนอก
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 พัฒนานักศึกษาให้มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะ ใช้วัสดุ และทรัพยากรทางพลังงานอย่างประหยัดและมีประโยชน์สูงสุด
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สําคัญในเนื้อหาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ที่ ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ทฤษฎีเพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษาและนําเสนอได้อย่างดี
บรรยาย อภิปราย การทำรายงานการนำเสนอรายงาน ฝึกปฏิบัติและมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ทั้งภาคทฤษฎี และปฏิบัติด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจและทักษะปฏิบัติ
2.3.2 ประเมินจากการรายงาน การนำเสนอรายงาน และงานที่มอบหมาย
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของระบบสมองกล
3.3.2 ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน และงานที่รับมอบหมาย
3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากรายงาน การนำเสนอผลงาน
3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2พัฒนาความเป็นผู้นําและผู้ตามในการทํางานเป็นทีม
4.1.3พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกําหนดเวล
4.2.1จัดกิจกรรมกลุ่มและกําหนดหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา โดยการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ที่มี ความหลากหลาย
4.2.2จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อวิเคราะห์กรณีศึกษาที่กําหนดขึ้นให้สอดคล้องตามเนื้อหาของบทเรียน
4.2.3มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล เช่น การศึกษาค้นคว้าและนําเสนอ
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
การนำหลักการทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์ การแก้ไขปัญหา การแก้โจทย์ปัญหา ก่อจะเกิดทักษะการปฏิบัติ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาต่างๆให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ความรู้ที่ได้ศึกษาที่ผ่านมา วิเคราะห์ แก้ไขปัญหา เพื่อให้การเรียนรู้และพัฒนาด้านทักษะพิสัย 
6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2มีการประเมินผลจากปฏิบัติงานในการทำงานทุกครั้ง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 32014319 ไมโครโปรเซสเซอร์และการอินเตอร์เฟส
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 3.1, 5.1,5.2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 8 5,13 18 15% 30% 15%
2 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 5.1,5.2 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.3, 4.1,4.4 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์
2.เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ชื่อผู้แต่ง Japan System House Association (JASA) แปลโดย ดร.ธนารักษ์ ธีระมั่นคง 2549
3.REAL-TIME SYSTEMS Design Principles for Distributed Embedded Applications ชื่อผู้แต่ง Hermann Kopetz สำนักพิมพ์ / ปีที่พิมพ์ KLUWER/ 2002 ISBN 0-792-39894-7
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4