แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม

Architectural Design Concept

เรียนรู้เกี่ยวกับปัจจัย อิทธิผลและความเป็นมาในการออกแบบสถาปัตยกรรม เข้าใจแนวความคิด ปรัชญาและเกณฑ์ ที่ใช้ในการออกแบบสถาปัตยกรรม เข้าใจกระบวนการกำหนดแนวความคิดสู่การออกแบบงานสถาปัตยกรรม ผ่านกรณีศึกษาผลงานสถาปัตยกรรมที่สำคัญโดยเน้นตั้งแต่สมัยใหม่ถึงหลังสมัยใหม่ พัฒนาแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรมได้
       นำข้อมูลจากประเมินผลการสอนโดยนักศึกษา และการผลการสอนใน มคอ 5 ของการเรียนการสอนครั้งที่ผ่านมา ทำการปรับปรุงซึ่งประกอบไปด้วย
1.คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
          - เพิ่มคะแนนการเข้าชั้นเรียน
          - เพิ่มคะแนนเรื่องจริยธรรมในแง่การไม่ลอกงานออกแบบของผู้อื่นมา
2. ความรู้
          - ปรับเปลี่ยนจังหวะการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับนักศึกษาชั้นปีที่สอง
         - เพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับ Representation และ เน้นทักษะการปฎิบัติ เป็นวิชาที่จบในตัวเองสัมพันธ์กับธรรมชาติของนักศึกษาชั้นปีที่สองมากขึ้น
        - ปรับเปลี่ยนสัดส่วน และ ลำดับของเนื้อหาการเรียนการสอนใหม่
3. ทักษะทางปัญญา
       - ไม่มี
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 
        - ไม่มี
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
       - ไม่มี
6. ทักษะพิสัย
       - เน้นการปฎิบัติมาขึ้นในทุกคาบเรียนลดสัดส่วนเชิงทฤษฎีให้น้อยลง เพื่อให้นักศึกษาทำได้
ศึกษากระบวนการการกำหนดแนวความคิดในการออกแบบ และการพัฒนาแนวความคิดสู่การออกแบบงานสถาปัตยกรรม โดยนำผลงานสถาปัตยกรรมในอดีตถึงปัจจุบันมาเป็นกรณีศึกษา
1 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และ Facebook กลุ่ม
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- เน้นย้ำความสำคัญของการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ผ่านการบรรยายที่ทำให้เห็นบทบาทของสถาปนิกที่มีหน้าที่ในการรับผิดชอบต่อสังคม คิดถึงผู้ใช้ที่เข้ามาในอาคาร ออกแบบให้มีคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเนื้อหาในส่วนของมนุษยวิทยาสถาปัตยกรรมและการทำงานแบบเป็นมืออาชีพ
- การเช็คชื่อเข้าเรียนให้ตรงเวลา,
- การซื่อตรงต่อกระบวนการในการออกแบบ คิดเอง ไม่ลอกงานคนอื่นมา หรือหากได้รับแรงบันดาลใจมามีวิธีในการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เป็นของตนเอง
- ข้อสอบเพื่อเข้าใจความหมายของมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม
- มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- ทำการบรรยายที่มาเชิงทฤษฎี และ ประวัติศาสตร์ ถึงมูลเหตุของการเกิดขึ้นของวิธีคิดต่างๆ
- ทำการบรรยายกรณีศึกษาสถาปัตยกรรมที่อยู่ในโลกปัจจุบัน ที่ก้าวหน้าที่สุด พร้อมชี้ให้เห็นถึงแหล่งที่มาและวิธีการศึกษาหาความรู้
- ทำการบรรยายเรื่องบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่างสถาปัตยกรรมและศาสตร์อื่นๆ
- ให้นักศึกษาฝึกปฎิบัติเพื่อเชื่อมโยงทฤษฎีสู่การทำได้จริง
- การทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ฝึกมือ สำหรับสร้างความคุ้นเคย ไม่เก็บคะแนน (เก็บเป็นคะแนน Attendance) และ คะแนนสอบปฎิบัติ สำหรับการประเมิน
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- การบรรยายปลายเปิด กระตุ้นให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์
- แบบฝึกปฎิบัติเชิงออกแบบสร้างสรรค์ เพื่อดูวิธีการคิดอย่างเป็นระบบ
- ผลงานการฝึกปฎิบัติในห้องเรียนของนักศึกษาเพื่อดูการประยุกต์ใช้ และการคิดเชิงตรรกะ และ สร้างสรรค์ และข้อสอบเพื่อแสดงข้อโต้แย้ง และเหตุผล
- มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สร้างข้อตกลง และ มารยาทการอยู่ร่วมกันในการเรียน
- สร้างบรรยากาศการเรียนแบบเปิดกว้าง ให้นักศึกษากล้าถาม ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- ไม่ได้ประเมินเป็นคะแนน แต่ว่ากล่าวตักเตือนเมื่อเกิดเหตุที่รบกวนการเรียนการสอน
- เก็บคะแนนในส่วนการมาเรียนเพื่อทำให้เริ่มเรียนได้ตรงตามเวลา
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- แสดงให้เห็นแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย เท่าทันโลก
- แสดงให้เห็นวิธีการทำ Design Research
- ประเมินการเขียน Design Research Flow
- ไม่มี
- ไม่มี
- ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42011309 แนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม - เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ - การเช็คชื่อเข้าเรียนให้ตรงเวลา - การซื่อตรงต่อกระบวนการในการออกแบบ คิดเอง ไม่ลอกงานคนอื่นมา หรือหากได้รับแรงบันดาลใจมามีวิธีในการต่อยอดเพื่อพัฒนาให้เป็นของตนเอง - ข้อสอบเพื่อเข้าใจความหมายของมานุษยวิทยาสถาปัตยกรรม 1-6, 9-14, 18 11 % (สัปดาละ 1 คะแนน) + คะแนนสอบ 10 คะแนน
2 2. ความรู้ - มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา - สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง - การทำแบบฝึกหัดในห้องเรียน โดยแบ่งเป็นส่วนที่ฝึกมือ สำหรับสร้างความคุ้นเคย ไม่เก็บคะแนน (เก็บเป็นคะแนน Attendance) และ คะแนนสอบปฎิบัติ สำหรับการประเมิน 2-8, 10-17 22 % 22 % (สัปดาละ 2 คะแนน) + คะแนนสอบส่วน ปฎิบัติ SKD 6 อีก 10 คะแนน + Practice Examination 7 คะแนน
3 ทักษะทางปัญญา - มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ - ผลงานการฝึกปฎิบัติในห้องเรียนของนักศึกษาเพื่อดูการประยุกต์ใช้ และการคิดเชิงตรรกะ และ สร้างสรรค์ และข้อสอบเพื่อแสดงข้อโต้แย้ง และเหตุผล 2-8, 10-17, 18 22% (งานสัปดาห์ละ 2 คะแนน) + 10% Mid Term Paper
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี - มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ไม่ได้ประเมินเป็นคะแนน แต่ว่ากล่าวตักเตือนเมื่อเกิดเหตุที่รบกวนการเรียนการสอน - เก็บคะแนนในส่วนการมาเรียนเพื่อทำให้เริ่มเรียนได้ตรงตามเวลา 1-8, 10-17 8 % (สัปดาห์ละ 0.5)
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ประเมินการเขียน Design Research Flow 17 10%
- Question of Perception : Phenomenology of Architecture
- Elements of Architecture : from form to place
- Disclosing Horizon
- Architecture and You : How to Experience and Enjoy Buildings
- Peter Zumthor Thinking Architecture
- Architecture as Experience
- Architecture and Dynamics
- Analyzing Architecture
- The Language of Space
- Architecture Form Space and Order
- Experiencing Architecture
- Design Drawing Experiences
- Graphic Thinking for Architects & Designer
2. เอกสาร และข้อมูลสำคัญ
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ มานิตา ชีวเกรียงไกร (2560). การทดลองใช้สัญวิทยาในการเรียนการสอนวิชาแนวความคิดในการออกแบบสถาปัตยกรรม. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 30 มีนาคม 2560
- Nicolas A., Pat S., Manita C., Peera J. (2016) Creative Habits. National and International Conference on Research and Design in Architecture and Related Fields. National Conference. Silapakorn University : 19-20 December 2016 : at Princess Maha Chakri Sirindhorn Anthropology Centre http://www.arch.su.ac.th/index.php/menu-photo9
- มานิตา ชีวเกรียงไกร และ ปัตย์ ศรีอรุณ (2559). การประยุกต์ใช้การเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานในการเรียนการสอนวิชาออกแบบสถาปัตยกรรม 4. เจดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่. การตีพิมพ์: วารสารวิชาการและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/jed /สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ มานิตา ชีวเกรียงไกร (2559). การผสานองค์ความรู้ในการพัฒนาฌาปนสถานสู่การเป็นพื้นที่ชุมชน. เจดี : วารสารวิชาการ การออกแบบสภาพแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.เชียงใหม่. การตีพิมพ์: วารสารวิชาการและเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/jed /สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ ปราง ศรีอรุณ (2558). ผู้ชมสนทนา : การเปรียบเทียบกลวิธีในการเล่าเรื่อง หอฝิ่นและบ้านฝิ่น จังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2558 การตีพิมพ์: Proceeding เผยแพร่ทางเว็บไซต์ http://www.arc.cmu.ac.th/nationalconference58/สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ ปราง ศรีอรุณ (2558). ไม่อนุญาตให้เชื่อมต่อ : เรื่องเล่าที่กระจัดกระจายในพิพิธภัณฑ์ไทย กรณีศึกษา พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติแห่งหนึ่งในประเทศไทย. การประชุมวิชาการสร้างสรรค์ระดับชาติ “ภูมิปัญญาพื้นถิ่นสร้างสรรค์” 2558 การตีพิมพ์: Proceeding เผยแพร่ทางเว็บไซต์http://www.arc.cmu.ac.th/nationalconference58/สังกัด/หน่วยงาน : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ปัตย์ ศรีอรุณ (2554). Facebook Effect : การสร้างความเป็นสาธารณะในพื้นที่ส่วนตัว. มาราธอน: อินเทอร์เน็ต การเมือง วัฒนธรรม ฉบับออกตัว. กรุงเทพฯ
- ปัตย์ ศรีอรุณ (2553). การซ้อนทับของพื้นที่ทางสังคมเสมือนและพื้นที่ทางสังคมกายภาพ : การศึกษากลไกปฎิสัมพันธ์ของร้านกาแฟ ให้บริการอินเทอร์เน็ตไร้สาย ในย่านนิมมานเหมินทร์ ด้วยทฤษฎีองค์ประกอบของพื้นที่. เอกสารสัมนาวิชาการ Netizen Marathon 2010. กรุงเทพฯ
- ปัตย์ ศรีอรุณ (2553). ความหมายของ “ปฎิสัมพันธ์” ใน ข่วงเฮือน และ Facebook. เอกสารสัมนาวิชาการ Netizen Marathon 2010. กรุงเทพฯ
- ปัตย์ ศรีอรุณ และ เช่น สันต์ สุวัจฉราพินันทร์ (2551). ถ้าจะพูดถึงการเปลี่ยนแปลงของเมืองเชียงใหม่. Hip Magazine. เชียงใหม่
- ปัตย์ ศรีอรุณ (2550). ลักษณะของข่วงเฮือนที่ส่งเสริมกิจกรรมทางสังคมในชุมชน บ้านเด่นในเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ได้รับทุนอุดหนุนจากบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ปัตย์ ศรีอรุณ (2550). ตัวตนและความใฝ่ฝัน: สถาปัตยกรรมท้องถิ่นนิยมและสถาปัตยกรรรมทันสมัยนิยมเชียงใหม่. สาระศาสตร์ 50. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ปัตย์ ศรีอรุณ อภิโชค เลขะกุล และ สันต์ สุวัจฉราพินันท์ (2549). ข่วงเฮือนเลือนหาย: วิกฤตการณ์การสูญเสียพื้นที่กิจกรรมทางสังคมในหมู่บ้านสมัยใหม่ เชียงใหม่. สาระศาสตร์ 49.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ไม่มี
- สรุปการเรียนการสอนปลายภาค
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
- แบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
- ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม กลางภาคเรียน
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม ปลายภาคเรียน
- ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม กลางภาคเรียน
- ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการสอนจากการประชุม ปลายภาคเรียน
- ดำเนินการทบทวนทุกปีการศึกษาในกรณีที่พบปัญหา และทุก 5 ปีตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ของสกอ.
นำเสนอสรุปผลการสอนและการประเมินโดยนักศึกษาแก่ที่ประชุมหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาในปีการศึกษาถัดไป