สื่อศิลปะ 3

Media Art 3

1.ศึกษาหลักการภาพยนต์แนวทดลอง วีดีโออาร์ต หนังสั้น การเขียนสตอรี่บอร์ด บทภาพยนต์ และเสียงทดลอง 2.เข้าใจในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อศิลปะและเทคโนโลยีต่างๆ ในการสร้างสรรค์ผลงาน 3.ฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง 4.ทดลองการสร้างสรรค์ผลงานในหลายรูปแบบ 5.นำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบ ของภาพและวีดีโอ
เพื่อให้สอดคล้องและต่อเนื่องกับวิชาที่เรียนมา สามารถศึกษาและพัฒนากระบวนการในการสร้างสรรค์สื่อศิลปะโดยใช้รูปแบบภาพยนต์แนวทดลอง วีดีโออาร์ต หนังสั้น บทภาพยนต์ และเสียงทดลอง รวมถึงนำองค์ความรุ้ไปบูรณาการกับวิชาอื่นๆ
ศึกษาหลักการภาพยนต์แนวทดลอง วีดีโออาร์ต หนังสั้นและบทภาพยนต์ และเสียงทดลอง เข้าใจในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ สื่อศิลปะและเทคโนโลยีต่างๆในการสร้างสรรค์ผลงาน ฝึกปฏิบัติการใช้อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ทดลองการสร้างสรรค์ผลงานในหลายรูปแบบ นำเสนอผลงานผ่านเอกสารประกอบการสร้างสรรค์ จัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของภาพและวีดีโอ
ให้คำปรึกษาตามความต้องการของนักศึกษาเฉพาะราย
1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต 2.มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 3.เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 4.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 5.สามารถวิเคราะห์ผลหาข้อสรุปเพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน 6.มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานที่เกี่ยวกับสื่อศิลปะสมัยใหม่ที่สำคัญทั้งในไทยและต่างประเทศ 2.แนะนำให้ศึกษาและพัฒนานำเอาข้อดีของผลงานเพื่อนำมาปรับปรุงในผลงานให้ดีขึ้น 3.ต้องไม่นำผลงานของผู้อื่นมาแอบอ้างเป็นของตน 4.นำผลงานของผู้อื่นมาศึกษาปรับปรุงต้องอ้างอิงถึงทุกครั้ง
1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และลงมือปฏิบัติงานตามที่กำหนดตรงเวลา 2   ตั้งใจในการศึกษาและฝึกปฏิบัติด้วยความสนใจ 3   ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
มีความรู้ในหลักการและมีทักษะในงานสื่อศิลปะสมัยใหม่ เข้าใจในหลักการสามารถคิดวิเคราะห์วางแผนการสร้างสรรค์งานได้อย่างเป็นระบบ
บรรยายบรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลงานและนำเสนอก่อนการปฏิบัติงาน   ลงมือฝึกปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนด
ตรวจให้คะแนนผลงานปฏิบัติในแต่ละหัวข้อที่กำหนด
สามารถคิดวิเคราะห์ วางแผนในการสร้างผลงาน และเข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานสื่อศิลปะสมัยใหม่
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม 3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา  ในกระบวนการสร้างสรรค์งานสื่อศิลปะสมัยใหม่
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   นักศึกษาร่วมอภิปรายในชั่วโมงบรรยายทฤษฎี
3.3.2  ตรวจผลงานปฏิบัติ พร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานร่วมกัน 4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   อภิปรายอย่างมีส่วนร่วม 4.2.2   การนำผลงานไปจัดนิทรรศการ โดยมีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบในแต่ละฝ่าย 4.2.3   กำหนดส่งงานตามหัวข้อที่กำหนด
4.3.1  นักศึกษาร่วมอภิปรายในชั่วโมงบรรยายทฤษฎี 4.3.2  ตรวจผลงานปฏิบัติ พร้อมการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและวิพากษ์ผลงานอย่างมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
5.1.1   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง 5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.3   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   อภิปราย ซักถามระหว่างบรรยายเพื่อเน้นความเข้าใจ 5.2.2   ศึกษานอกเวลาค้นคว้ารายงาน สืบค้นแหล่งข้อมูลจากหนังสือและอินเตอร์เน็ต เพื่อเป็นข้อมูลประกอบในการสร้างสรรค์ผลงานองค์ประกอบศิลป์
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และงานที่เสร็จสมบูรณ์ 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงานและวิธีการนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 4
1 41015304 สื่อศิลปะ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-16 การฝึกปฏิบัติ แบบฝึกหัดในชั้นเรียน 1-16 20%
2 1-16 Project#1 - ภาพยนต์ทดลองและวีดีโออาร์ต (Experimental film and video art) ความคืบหน้า ผลงาน Project#1 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ 8 15%
3 1-16 Project#2 - หนังสั้น แนวทดลอง (Shot Film : Experimental film) ความคืบหน้า ผลงาน Project#2 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ 12 20%
4 1-16 Project#3 - วีดีโออาร์ตและการสร้างสรรค์วีดีโอบนตำแหน่งเฉพาะเจาะจง (Video Art and Video Mapping creation)

ความคืบหน้า ผลงาน Project#3 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ 14 15%
5 1-16 Project#Final - การสร้างสรรค์งานศิลปะส่วนตน: ภาพยนต์ทดลองและวีดีโออาร์ต (Thematic Work) ความคืบหน้า ผลงาน Project#4 เอกสารประกอบงานสร้างสรรค์ 17 20%
6 1-16 จิตพิสัย 1-16 10%
เอกสารอ้างอิง
ธรรมปพน ลีอำนวยโชค. Intro to Animation. กรุงเทพฯ :  ฐานบุ๊คส์, 2550 บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา. ศิลปะเขนงที่เจ็ด เพื่อวัฒนธรรมแห่งการิจารณ์ภาพยนต์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์พับลิค บุเคอรี, 2552 นิวัฒน์  ศรีสัมมาชีพ. คิดและเขียนให้เป็นบทภาพยนตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ตะวันออก, 2551 BORDWELL, David, THOMPSON, Kristin (2010). Film Art: An introduction. McGraw-Hill. New York. DAVID A., ROSSE and PETER Sellars. (1997). Bill Viola. Paris-New York. PEREC, GEORGES (1974). Espèces d’espaces. Paris: Editions Galilée.
LEV, Manovich. (2001). The language of New Media. Cambridege: The MIT Press. RUSH, Michael. (2005). New Media in art. London, Second edition Stockman, Steve. (2011). How to shoot video that dines’t suck. Workman Publishing. New York.
เอกสารอ้างอิงออนไลน์ MUÑOZ-ALONSO, L. (mars 2012). Antoni Muntadas, Frieze. Saisi le 25 avril 2015, de http:// www.frieze.com/issue/review/antoni-muntadas/.
PILAR CORRIAS GALLERY, « Rirkrit Tiravanija – Lung Neaw », Site officiel de la Galerie Pilar Corrias, Londres. URL : http://www.pilarcorrias.com/exhibitions/rirkrittiravanija/ Page consultée le 09 novembre 2012.
ROKEBY, D. « Biographie », Site officiel de l’artiste. URL : http://www.davidrokeby.com /home.html. Page consultée le 09 novembre 2012.
LEV, MANOVICH. (2001). The language of New Media. MIT Press. Saisi le 5 juin 2015, de http://faculty.georgetown.edu/irvinem/theory/Manovich-LangNewMedia-excerpt.pdf WEERASETHAKUL, A. « Biographie », Site officiel de l’artiste. URL : http://www.kickthemachine.com. Page consultée le 28 décembre 2012.
WIKIPEDIA. (2015, 15 mai). Ligne d’univers, Wikipédia, l’encyclopédie libre. Saisi le 23 mai 2015, de http://fr.wikipedia.org/wiki/Ligne_d%27univers.
WIKIPEDIA. (2015, 06 avril). Mapping, Wikipédia, l’encyclopédie libre. Saisi le 23 mai 2015, de http://fr.wikipedia.org/wiki/Mapping
 
www.wiring.org www.processing.org www.troikatronix.com www.madmapper.com
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 3. ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามหัวข้อที่กำหนดทุกครั้ง
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2   การวิจัยผลงานสร้างสรรค์เพื่อประกอบการเรียนรู้
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ