ปฏิบัติงานทดสอบปั๊มและหัวฉีดเชื้อเพลิงดีเซล

Diesel Fuel Pump and Injectors Testing

     1.1  มีทักษะเกี่ยวกับการถอดประกอบปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง       1.2  มีทักษะการอ่านรหัสแผ่นป้ายข้อมูลปั้มแรงดันสูง       1.3  มีทักษะการทดสอบปรับแต่งปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง       1.4  มีทักษะการใช้เครื่องมือพิเศษปรับแต่งปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง       1.5  มีทัศนคติที่ดีต่อการทดสอบปรับแต่งระบบฉีดเชื้อเพลิงของเครื่องยนต์ดีเซล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการถอดประกอบปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง การทดสอบปรับแต่งปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง การอ่านรหัสแผ่นป้ายข้อมูลปั้มแรงดันสูง การใช้เครื่องมือพิเศษปรับแต่งปั้มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง รวมทั้งเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำเอาไปประกอบการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องต่อไป
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการถอดประกอบปั๊มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง  การ ทดสอบปรับแต่งปั๊มแรงดันสูงและหัวฉีดเชื้อเพลิง การอ่านรหัสแผ่นป้าย ข้อมูลปั๊มแรงดันสูง การใช้เครื่องมือพิเศษปรับแต่งปั๊มแรงดันสูงและหัวฉีด เชื้อเพลิง  
ตามความต้องการนักศึกษา
1 มีจิตสํานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม    
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ    
3 มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และ สิ่งแวดล้อม    
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 
กําหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการ เข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัยฯ นอกจากนี้ ผู้สอน ต้องสอดแทรกและส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรมในทุกรายวิชา และส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ สนับสนุนให้นักศึกษาเข้าร่วมในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพแก่สังคม ปลูกฝังจิตสํานึกในการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ยกย่องและเชิดชูนักศึกษาที่ทําความดีและเสียสละ
 1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกําหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม   
2 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริม หลักสูตร   
3 ปริมาณการกระทําทุจริตในการสอบ   
4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย   
5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความ รับผิดชอบของนักศึกษา
 
1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา   
2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา           
3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ  ใช้การบูรณาการการ เรียนการสอนกับการทํางาน (Work Integrated Learning) โดยมุ้งเน้นทั้งหลักการทางทฤษฎี และการ ประยุกต์ใช้ความรู้ในการปฎิบัติในสภาพแวดล้อมจริงและให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี จัด ให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็น วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
1 การทดสอบย่อย   
2 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน   
3 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทํา   
4 ประเมินจากโครงงานที่นําเสนอ   
5 ประเมินจากการนําเสนอรายงานในชั้นเรียน   
6 ประเมินจากรายวิชาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
 
1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ   
2 มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ  และการบูรณาการการเรียน การสอนกับการทํางาน (Work Integrated Learning)  มุ่งเน้นให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์องค์ประกอบของ สถานการณ์ต่าง ๆโดยใช้บทบาทสมมติสถานการณ์จําลอง และกรณีศึกษาของแต่ละสาขาวิชาชีพเพื่อเป็น ตัวอย่างให้นักศึกษาได้ฝึกวิเคราะห์แนวทางแก้ไขให้ถูกต้องและเน้นให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง
1 บทบาทสมมติหรือสถานการณ์จําลอง   
2 การเลือกใช้วิธีการเพื่อแก้ใขปัญหาในบริบทต่าง ๆ   
3 การนําเสนอรายงานในชั้นเรียน   
4 การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือสัมภาษณ์
1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี   
2 มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ   
3 สามารถทํางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม   
4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1 สามารถทํางานร่วมกับผู้นได้เป็นอย่างดี   
2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย   
3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็น อย่างดี   
4 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
5 มีภาวะผู้นําและผู้ตาม   
6 มีความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคลที่ติดต่อสื่อสารด้วย  และสามารถวางตนได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
1 พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนําเสนอรายงานกลุ่มในชั้น เรียน   
2 พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม   
2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม     
3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร   
2 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการค้นคว้าหาข้อมูล
3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการนําเสนอผลงาน   
4 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับขนบธรรมเนียมปฏิบัติของ สังคมแต่ละกลุ่ม
1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร   
2 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล   
3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนําเสนอผลงาน   
4 จรรยามารยาทในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์และ วัฒนธรรมสากล
1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ   
2 สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ ปฏิบัติตามรูปแบบการสอน ประยุกต์วิธีการสอนใด้ อย่างเหมาะสมกับเนื้อหาและสภาพของกลุ่มผู้เรียนได้เป็นอย่างเหมาะสม
1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน   
2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ   
3 สนับสนุนการเข้าประกวดทักษะด้านการปฏิบัติ
4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา   
5 สนับสนุนการทําโครงงาน   
6 การปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู  
1มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน   
2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน   
3 มีการประเมินผลการทํางานในภาคปฏิบัติ   
4 มีการประเมินโครงงานนักศึกษา   
5 มีการประเมินนักศึกษาการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 31045309 ปฏิบัติงานทดสอบปั๊มและหัวฉีดเชื้อเพลิงดีเซล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-8 10-17 สอบปฏิบัติกลางภาค สอบปฏิบัติปลายภาค 10 18 35% 35%
2 1-17 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1-17 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วม ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. พิเชฐ เขียวสีม่วง. งานระบบฉีดเชื้อเพลิงอิเล็กทรอนิกส์. สำนักพิมพ์ ส.ส.ท. 2557  2. ประสานพงษ์ หาเรือนชีพ. งานเครื่องยนต์ดีเซล. สำนักพิมพ์ซีเอ็ด. 2558  3. สนิท  เสมือรรัมย์. งานทดสอบระบบฉีดเชื้อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล. สำนักพิมพ์ซีเอ็ด. 2558  แก้ไข
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   ผลการประเมินการสอนจากนักเรียน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรีย
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ  5.2   ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4