ฮอร์โมนที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

Hormone in Aquaculture

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับชนิดของฮอร์โมนในสัตว์น้ำ 
1.2 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับแหล่งที่มาของฮอร์โมนในสัตว์น้ำ 
1.3 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการออกฤทธิ์ของฮอร์โมนในสัตว์น้ำ
1.4 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับหน้าที่ของฮอร์โมนในสัตว์น้ำ
1.5 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของฮอร์โมนในสัตว์น้ำ 
1.6 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับความสำคัญเกี่ยวกับการใช้ฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในปัจจุบัน
พื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความสามารถและความเข้าใจ โดยใช้หลักการของการจัดการเข้ามาจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาเกี่ยวกับชนิดของฮอร์โมน แหล่งที่มา และหน้าที่ของฮอร์โมนชนิดนั้นๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของฮอร์โมน บทบาทของฮอร์โมนในการเพาะพันธุ์ปลา การใช้ฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในปัจจุบัน
    3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง FS206 โทร 054-710259 ต่อ 1131
    3.2  E-mail; mr1fisheries@hotmail.com   เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
-มีจิตสำนึกและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมสาธารณะ
-มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
-มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
-เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย   
- จะสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
- กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น
- การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ
ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด
- นักศึกษาต้องรู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
- ร้อยละ 90 ของนักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา
- ร้อยละ 95 ของนักศึกษา ปฏิบัติตามแนวปฏิบัติที่อาจารย์กำหนด
- ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา


-สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในสาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
 การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)  โดย   
- บรรยายประกอบการอภิปรายในหลักการและทฤษฏ
- มอบหมายให้อ่านบทความวารสารทางวิชาการ พร้อมทั้งเขียนรายงานสรุปในเรื่องที่อ่าน และส่งเป็นการบ้าน


 
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 

 -มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ

 
 
การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving) โดย
-ในการสอนจะเสริมสร้างการใช้ทักษะเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าใจและสามารถเชื่อมโยงกับหลักการหรือทฤษฎีอันเป็นแนวทางสู่การแก้ปัญหาต่างๆ
-โดยการใช้สื่อเป็นวีดีทัศน์และ มอบหมายโจทย์ปัญหาให้นักศึกษาได้ฝึกหาข้อมูล วิเคราะห์และเข้าใจวิธีแก้ปัญหาโดยอิงบนหลักการและ/หรือทฤษฎีอย่างถูกต้อง
 
- โดยการทดสอบจากข้อสอบที่เป็นข้อสอบซึ่งต้องให้นักศึกษาคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ตลอดจนนำหลักการและทฤษฎีไปอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน
-มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
-มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)  โดย
- มอบหมายงานให้นักศึกษาทำเป็นกลุ่ม แล้วนำเสนอในชั้นเรียน และต้องแนะนำให้นักศึกษาเข้าใจใน  การทำงานร่วมกัน
- ให้นักศึกษาทำงานร่วมกันเพื่อเกิดการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทำรายงาน และนำเสนองาน
- ประเมินจากกระบวนการทำงาน การจัดระบบการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
- ประเมินจากความเข้าใจในกระบวนการทำงานและการแบ่งงานกันทำตามความเหมาะสมในการออกปฏิบัติภาคสนาม
 -สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม -สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม -สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนแบบกรณีศึกษา (Case Studies) โดย
- กำหนดให้นักศึกษาอ่านตำรา และบทความทางวิชาการ การจัดทำรายงานให้ใช้หนังสืออ้างอิงหรือฐานข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือ
- ให้ค้นคว้าในการจัดทำรายงานผ่านฐานข้อมูลหรือวารสารวิชาการ
- ในการนำเสนอรายงานให้นำเสนอผ่านระบบสารสนเทศ (power point)
 
 
- ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม- ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย ว่ามีการใช้วารสาร หนังสือ หรือฐานข้อมูลเชิงวิชาการ 


 
-มีทักษะในการใช้ความรู้เพื่อดำเนินงานบนมาตรฐานที่ดีในการผลิตที่ดีทางการประมง
-มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
-การสอนแบบปฏิบัติ  โดยกำหนดให้นักศึกษาดำเนินงานเกี่ยวกับชนิดของฮอร์โมน แหล่งที่มา และหน้าที่ของฮอร์โมนชนิดนั้นๆ ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงานของฮอร์โมน บทบาทของฮอร์โมนในการเพาะพันธุ์ปลา การใช้ฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำในปัจจุบัน
- ประเมินจากโครงการกลุ่มในการวางแผนการดำเนินงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 3 1 2 1 2
1 23013302 ฮอร์โมนที่ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 6.1, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ -
3 3.1, 3.2, การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 5%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 5%
5 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 65 %
-เพ็ญพรรณ ศรีกสุลเตียง. 2547. ฮอร์โมนในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า. ภาควิชาประมง, คณะเกษตรศาสตร์,มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 190 หน้า.
-ภณุ เทวรัตน์มณีกุล กาชัย ลาวัณยวุฒิ และสุจินต์ หนูขวัญ. 2539. การทดสอบประสิทธิภาพของฮอร์โมนสังเคราะห์ชนิดต่างๆในการเพาะพันธุ์ปลาน้าจืด. เอกสารวิชาการฉบับที่ 182. สถาบันวิจัยประมงน้าจืด, กรมประมง. 23 หน้า.
- วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย. 2536. การเพาะพันธุ์ปลา.สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์, กรุงเทพมหานคร. 194 หน้า.
- วันเพ็ญ มีนกาญจน์. 2528. ปลาไทยในสถานแสดงพันธุ์ปลาน้าจืด. สถาบันประมงน้าจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 96 หน้า.
- วัฒนะ ลีลาภัทร. 2532. การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์และยาเสริมฤทธิ์ในการเพาะพันธุ์ปลา. วารสารการประมง. 42(4): 275-278.
- สมศรี งามวงศ์ชน. 2526. การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้ฮอร์โมนสกัดจากปัสสาวะหญิงมีครรภ์เพื่อประโยชน์ในการผสมเทียมปลาน้าจืดของไทย. เอกสารวิชาการ ฉบับที่ 22. สถาบันประมงน้าจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 30 หน้า.
- สมศรี งามวงศ์ชน. 2527. การผสมเทียมปลาดุกอุยฮอร์โมนสกัดจากปัสสาวะหญิงมีครรภ์. สถาบันประมงน้าจืดแห่งชาติ, กรมประมง. 30 หน้า.
- สมศรี งามวงศ์ชน. 2551. ฮอร์โมนต่อการเพาะพันธุ์ปลา. สานักวิจัยและพัฒนาประมงน้าจืด, กรมประมง. 46 หน้า.
- สมศรี งามวงศ์ชน สมบัติ สิงห์สี และอรรณพ อิ่มศิลป์. 2551. การกระตุ้นความสมบรูณ์เพศด้วยฮอร์โมนเพื่อเร่งการตกไข่ของแม่ปลาโมง. วารสารการประมง 61 (6): 487-492.
- อุทัยรัตน์ ณ นคร. 2538. การเพาะขยายพันธุ์ปลา. ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้า คณะประมง, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 231 หน้า.
-https://www.youtube.com/watch?v=OKsPhY-VUdI
-https://www.youtube.com/watch?v=FwG841PvUfQ
-https://www.youtube.com/watch?v=o4E9GGrh52I
-https://www.youtube.com/watch?v=9pPQye9b5l0
-https://www.youtube.com/watch?v=EYsxG51RLQU
-https://sites.google.com/site/ratchaneegornnkc/raywicha-sxn/feed-and-feeding
บทความทางวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ  ตามความเหมาะสมของเหตุการณ์และความเป็นปัจจุบัน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง