การแปลเบื้องต้น
Introduction to Translation
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานของการแปล มีทักษะในการแปลจาก ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย และจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีกระบวนการและกลวิธีการแปลงานเขียน ประเภทต่าง ๆ โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและเหมาะสมและใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือ เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาทฤษฎี กลวิธี และกระบวนการแปลขั้นพื้นฐาน เน้นฝึกแปลภาษาอังกฤษเป็น ภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษจากงานเขียนประเภทต่าง ๆ โดยใช้ภาษาที่ถูกต้องและ เหมาะสม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่
1.1.1 ความมีจรรยาบรรณในการแปลบทความ
1.1.2 ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
1.1.1 ความมีจรรยาบรรณในการแปลบทความ
1.1.2 ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย
1.2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักจรรยาบรรณของการแปลในเนื้อหาของบทเรียน
1.2.2 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.3 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับ
กิจกรรมในชั้นเรียน
1.2.1 ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักจรรยาบรรณของการแปลในเนื้อหาของบทเรียน
1.2.2 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
1.2.3 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับ
กิจกรรมในชั้นเรียน
1.3.1 การทดสอบความเข้าใจในการสอบกลางภาคและปลายภาค
1.3.2 การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
1.3.2 การเข้าเรียนตรงเวลา และการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจทั้งในด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา โดยทางทฤษฎีเน้นความรู้ความเข้าใจในเรื่องหลักการแปล ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการแปล กระบวนการ และกลวิธีการแปล ส่วนในทางปฏิบัติ เน้นการฝึกแปลงานเขียนประเภทต่าง ๆ จากภาษาอังกฤษเป็น ภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้บูรณาการความรู้เกี่ยวกับการแปล กับศาสตร์ต่างๆ อย่างเหมาะสม
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.1 การทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการแปลข้อเขียนประเภทต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการแปลข้อเขียนประเภทต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษา เนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการแปลงานเขียนประเภทต่าง ๆ ในระดับประโยค ย่อหน้า และข้อความ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย
3.2.1 ให้นักศึกษาวิเคราะห์งานแปลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานแปลประเภทต่างๆ
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารจริง
3.2.3 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียนโดยเลือกเอกสารเอง
3.2.1 ให้นักศึกษาวิเคราะห์งานแปลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานแปลประเภทต่างๆ
3.2.2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารจริง
3.2.3 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียนโดยเลือกเอกสารเอง
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม และแสดงความคิดเห็น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม
3.3.3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักการทำงานเป็นทีม โดยการช่วยกันค้นคว้าหาคำตอบ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมโดยกระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์ในการฝึก การแปลงานเขียนประเภทต่างๆ
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินตนเอง
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงาน
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงาน
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษา
5.1.1 ค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการแปล อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและ สอดคล้องกับบริบท
5.1.1 ค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการแปล อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและ สอดคล้องกับบริบท
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการแปลในบทเรียนต่าง ๆ
5.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง off-line และ on-line
5.2.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับระดับ รูปแบบ และสไตล์ของภาษาผ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ
5.2.4 ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารหลากหลายประเภท
5.2.1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการแปลในบทเรียนต่าง ๆ
5.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง off-line และ on-line
5.2.3 ให้ความรู้เกี่ยวกับระดับ รูปแบบ และสไตล์ของภาษาผ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ
5.2.4 ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารหลากหลายประเภท
ประเมินจากผลงานและการฝึกปฏิบัติของนักศึกษา ได้แก่
5.3.1 การทดสอบความรู้ด้านภาษาในการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.2 ผลงานการทำแบบฝึกปฏิบัติการแปลในชั้นเรียน
5.3.3 ผลการทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน
5.3.1 การทดสอบความรู้ด้านภาษาในการสอบกลางภาคและปลายภาค
5.3.2 ผลงานการทำแบบฝึกปฏิบัติการแปลในชั้นเรียน
5.3.3 ผลการทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน
สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม
6.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
6.2.2 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
6.3.1 ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
6.3.2 การนำเสนอผลงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา | 1 คุณธรรมจริยธรรม | 2 ความรู้ | 3 ทักษะทางปัญญา | 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ | 6 ด้านทักษะพิสัย | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ลำดับ | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | 1 ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักจรรยาบรรณของการแปลในเนื้อหาของบทเรียน 2 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียนโดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 3 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน | 1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน 2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารทั้งในและนอกชั้นเรียน | 1 ให้นักศึกษาวิเคราะห์งานแปลและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานแปลประเภทต่างๆ 2 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารจริง 3 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียนโดยเลือกเอกสารเอง | จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมโดยกระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นกับอาจารย์ในการฝึกการแปลงานเขียนประเภทต่างๆ | 1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการแปลในบทเรียนต่าง ๆ 2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง off-line และ on-line 3 ให้ความรู้เกี่ยวกับระดับ รูปแบบ และสไตล์ของภาษาผ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ 4 ให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติการแปลเอกสารหลากหลายประเภท | 1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม 2 จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม |
1 | 13031232 | การแปลเบื้องต้น |
กิจกรรมที่ | ผลการเรียนรู้ * | วิธีการประเมินผลนักศึกษา | สัปดาห์ที่ประเมิน | สัดส่วนของการประเมินผล |
---|---|---|---|---|
1 | ทักษะด้านความรู้และทักษะด้านปัญญา Unit 1 - 5 | สอบกลางภาค | 9 | 20% |
2 | ทักษะด้านความรู้และทักษะด้านปัญญา Unit 5 - 10 | สอบปลายภาค | 17 | 20 |
3 | ทักษะทางปัญญา ทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ทักษะพิสัย | งานที่มอบหมาย Translation Tasks 1 - 13 | ตลอดภาคการศึกษา | 30% |
4 | คุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบ ทักษะพิสัย | แบบฝึกหัดและแฟ้มสะสมผลงานแปล | ตลอดภาคการศึกษา | 20% |
5 | จิตพิสัย ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ | การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน การแต่งกายถูกระเบียบ | ตลอดภาคการศึกษา | 10% |
อัจฉรา ไล่ศัตรูไกล. (2555). จุดมุ่งหมาย หลักการและวิธีแปล. มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องในการสืบค้นข้อมูลประกอบการแปล
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดปรับเนื้อหาและกิจกรรมให้มีความ น่าสนใจมากขึ้น
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ใน วิชาจากกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณา จากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดย หัวหน้าสาขา วิชาหรือคณะกรรมการประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนน พฤติกรรม
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดย หัวหน้าสาขา วิชาหรือคณะกรรมการประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนน พฤติกรรม
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้จากรายวิชานี้เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของ อาจารย์
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ ความรู้จากรายวิชานี้เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของ อาจารย์